วันศุกร์ที่ 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555
วันอังคารที่ 30 ตุลาคม พ.ศ. 2555
ความคืบหน้าเงินตกเบิกวิทยฐานะ
และความก็มีความคืบหน้าเกี่ยวกับการเบิกจ่ายเงินเบิกทวนวิทยฐานะมาวันนี้อีกแล้ว จากเว็บสำนักนโยบายและแผน คุณครูคงจะดีใจไม่น้อยสำหรับผู้ที่ได้ แต่สำหรับผู้ที่ยังไม่ได้คือ ผู้ที่มีอำนาจลงนามหลัง กรกฏาคม2554 คงจะเสียใจกันบ้างละ เพราะตามประกาศเขาให้เฉพาะ ผู้ที่มีอำนาจลงนามตั้งแต่ 1 ต.ค 53-31 ก.ค 54
คลิกดูได้ที่นี่คะ http://www.plan.obec.go.th/main.php?filename=index
"วันนี้ เว็บครูไทยได้รับการเผิดเผยจาก
ดร.รังสรรค์ มณีเล็ก ที่ปรึกษา สพฐ.ว่า
ขณะนี้ได้รับข้อมูลเรื่องเงินตกเบิกวิทยฐานะจาก สพร.แล้ว
และได้เสนอเรื่องไปยัง เลขา
กพฐ.เพื่ออนุมัติการเบิกจ่ายเงินวิทยฐานะให้กับครู เมื่อ เลขา
กพฐ.อนุม้ติแล้ว จะได้ทำหนังสือแจ้งไปยังเขตพื้นที่การศึกษา
เพื่อเบิกจ่ายเงินตกเบิกวิทยฐานะและเงินเดือนปัจจุบันให้กับครูต่อไป
โดยเขตพื้นที่การศึกษา จะต้องดำเนินการให้แล้วเสร็จภายใน 31 ธ.ค.55 นี้
- อ่านแต่ละเม้นท์แล้วอยากกด like แบบขี้เกียจเม้นท์ตอบผสมโรง
"
ที่มา http://www.kruthai.info/view.php?article_id=2823http://www.kruthai.info/view.php?article_id=2823
คลิกดูได้ที่นี่คะ http://www.plan.obec.go.th/main.php?filename=index
ความคืบหน้าเงินตกเบิกวิทยฐานะ
ไม่เขียนไม่ได้แล้วเกี่ยวกับข่าวเงินวิทยฐานะเบิกทวน ที่ท่าน ดร.รังสรรค์ มณีเล็ก ออกมาเขียนแจ้งบอกข่าวว่าจะออกในเดือน ตุลาคม 2555นี้แน่นอนแล้วไม่ออก ทำให้เกิดปรากฏการณ์ เขียนโพสเกี่ยวกับเงินตกเบิก ผิดหวังในข่าว ความน่าเชื่อถือ ความเจ็บช้ำน้ำใจที่ได้รับโดยเฉพาะเว็บไซต์ครูไทยที่ได้ติดตามข่าวนี้มาโดยตลอด
ล่าสุด มีข่าวจากเว็บไซต์ครูไทยความว่าดังนี้
"วันนี้ เว็บครูไทยได้รับการเผิดเผยจาก
ดร.รังสรรค์ มณีเล็ก ที่ปรึกษา สพฐ.ว่า
ขณะนี้ได้รับข้อมูลเรื่องเงินตกเบิกวิทยฐานะจาก สพร.แล้ว
และได้เสนอเรื่องไปยัง เลขา
กพฐ.เพื่ออนุมัติการเบิกจ่ายเงินวิทยฐานะให้กับครู เมื่อ เลขา
กพฐ.อนุม้ติแล้ว จะได้ทำหนังสือแจ้งไปยังเขตพื้นที่การศึกษา
เพื่อเบิกจ่ายเงินตกเบิกวิทยฐานะและเงินเดือนปัจจุบันให้กับครูต่อไป
โดยเขตพื้นที่การศึกษา จะต้องดำเนินการให้แล้วเสร็จภายใน 31 ธ.ค.55 นี้
คราวนี้ช้าเร็วของการเบิกจ่ายเงินก็จะขึ้นอยู่กับเขตพื้นที่การศึกษา
โดยเป็นอำนาจของเขตพื้นที่การศึกษาที่จะเบิกจ่ายเงินตกเบิกพร้อมกับเงิน
เดือนปัจจุบันในวันสิ้นเดือน หรือจะเบิกจ่ายเงินตกเบิกก่อน
แล้วเงินเดือนปัจจุบันค่อยไปรับในวันสิ้นเดือน
เว็บครูไทยขอแสดงความยินดีกับคุณครูทุกท่านที่ได้รับเงินตกเบิกในครั้งนี้ "
มีเสียงจากครูที่เข้าไปเขียนความคิดเห็นน่าสนใจดังนี้
- เรื่องเงินตกเบิกวิทยฐานะ ที่ว่าจะได้ ครูที่ได้รับข้อมูลก็รีบโพสต์ จดหมายเปิดผนึกท่าน ดร.รังสรรค์ แจกไปทั่ว ครูที่มีสิทธิ์ ต่างก็ดีใจสุดๆๆๆๆๆๆๆ แต่มาวันนี้ ข่าวกลับสับสน ข้อมูลไม่จริงซะแล้ว เป็นเพราะอะไร ผมก็เสียใจไม่น้อยไปกว่าเพื่อนครูทั่วประเทศ ทำไมต้องเป็นอย่างนี้ เพราะอะไร ที่สำคัญก็ต้องรีบแจ้งรายละเอียดไปยัง สพป/สพม. เพื่อเพื่อนครูจะได้รับข่าวดี หรือว่า ...ไม่อยากให้เป็นข่าวร้ายด้วย
- ถึง ครูอีสาน จะนัดรวมตัวที่กระทรวง ศธ. วันศุกร์นี้เวลาเท่าไหร่ครับผมพร้อมร่วมเป็นหนึ่งพลังกับท่านอย่างแน่นอนครับ
- อ่านแต่ละเม้นท์แล้วอยากกด like แบบขี้เกียจเม้นท์ตอบผสมโรง
ฝากเวปมาสเตอร์ปรับปรุงด้วยนะครับ
อิอิ ฉีกแนว
- เรื่อง เงินตกเบิกวิทยฐานะ ตามที่ท่าน ดร.รังสรรค์ มณีเล็ก สพผ. ท่านได้เขียนจดหมายเปิดผนึก ฉบับที่ 6/2555 ในรายละเอียดก็ได้โพสต์ไปทั่ว fb และในสังคม โซเชียล มีเดีย เน็ตเวิร์ค เรียบร้อยแล้ว ว่าจะได้ใน 31 ต.ค.55 พร้อมเงินประจำตำแหน่งปัจจุบัน แต่มาบัดนี้ข้อมูลเริ่มไม่ตรงกับที่ท่านได้เขียน ทำให้ครูทั่วประเทศ เริ่มสับสนและกังวล ใจ พร้อมกับตั้งใจรอตามนี้ แต่ก็ต้อง เสียใจกับรายละเอียดและข้อมูลดังกล่าว พูดได้ทันทีก็คือ สิ้นหวังและก็ท้อแท้
ฯลฯ
สรุปก็คือ อยากให้เงินตกเบิกทวนตรงตามเวลาที่ ท่าน ดร.รังสรรค์ ได้เขียนบอกไว้ 31 ตุลาคม 2555 ซึ่งยังเหลือ อีก 1 วัน รอดูกันนะคะ
เว็บครูไทย ตั้งหัวข้อข่าว ว่า "คุณครูครับ! รับตกเบิกเงินวิทยฐานะเฉียดแสน"
มีข่าวจากเว็บครูไทยเพิ่มเติมดังนี้ค่ะ
"
เมื่อวันที่ 31 ต.ค.55 นายไกร เกษทัน ผู้
อำนวยการสำนักพัฒนาระบบบริหารงานบุคคลและนิติการ (สพร.)
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน(สพฐ.) เปิดเผยว่า
ขณะนี้ได้รับแจ้งจากสำนักนโยบายและแผนการศึกษาขั้นพื้นฐาน ในการจัดสรรงบประมาณปี 2556 เพื่อตกเบิกเงินวิทยฐานะ ให้กับข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ที่ผ่านประเมินวิทยฐานะชำนาญการพิเศษ และเชี่ยวชาญ แต่ยังไม่ได้รับเงินวิทยฐานะ ประมาณ 36,000 ล้านบาท มีผู้ได้รับการตกเบิกประมาณ 42,000 คน
โดยข้าราชการครูฯ ที่ได้รับการตกเบิกให้นับตั้งแต่วันที่ผู้มีอำนาจลงนามในคำสั่งแต่งตั้ง ให้มีและเลื่อนวิทยฐานะตั้งแต่วันที่ 1 ต.ค.53 ถึง 31 ก.ค.54 ซึ่งผู้ที่ได้รับเงินตกเบิกวิทยฐานะ ดังกล่าวจะได้รับเงินก้อนใหญ่ บางคนอาจจะได้หลักหลายแสนบาท โดยวิทยฐานะชำนาญการพิเศษ จะได้รับเงิน 5,600 บาท วิทยฐานะเชี่ยวชาญ 9,900 บาท
"ส่วนผู้ที่ผ่านการประเมินวิทยฐานะตั้งแต่วันที่ 1 ส.ค. 54 เป็นต้นมานั้นทางสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน(สพฐ.)จะต้องเสนอของบประมาณเพื่อตกเบิกให้ต่อไป ซึ่งสาเหตุที่ต้องตกเบิกเนื่องจากต้องใช้เงินงบประมาณจำนวนมาก"
ผอ.สพร. กล่าวและว่า ขั้นตอนจากนี้จะมีการแจ้งการโอนเบิกจ่ายงบประมาณไปที่เขตพื้นที่การศึกษา อย่างไรก็ตามเรื่องนี้ น.ส.ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี ได้เร่งให้ สพฐ.ดำเนินการตั้งแต่การประชุมระดับปลัดกระทรวง ที่ จ.ชลบุรี ช่วงสองสัปดาห์ที่ผ่านมาแล้ว
"
ที่มา http://www.kruthai.info/view.php?article_id=2823http://www.kruthai.info/view.php?article_id=2823
วันอาทิตย์ที่ 28 ตุลาคม พ.ศ. 2555
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
ประวัติส่วนตัว |
|
ตำแหน่งปัจจุบัน |
|
ประวัติการศึกษา |
|
ประวัติ การรับราชการ |
|
ประวัติการทำงาน ทางการเมือง |
|
เครื่องราช-
อิสริยาภรณ์ |
|
วันอังคารที่ 23 ตุลาคม พ.ศ. 2555
การจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
การจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
พูดกันมากมายเกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้ในยุคนี้ศตวรรษที่ 21 ที่ต้องให้นักเรียนกล้าคิดกล้าแสดงออก รู้จักศึกษาค้นคว้า แลกเปลี่ยนเรียนรู้และนำเสนอความรู้ได้ มีการจัดหลักสูตรให้กับผู้เรียน
พูดกันมากมายเกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้ในยุคนี้ศตวรรษที่ 21 ที่ต้องให้นักเรียนกล้าคิดกล้าแสดงออก รู้จักศึกษาค้นคว้า แลกเปลี่ยนเรียนรู้และนำเสนอความรู้ได้ มีการจัดหลักสูตรให้กับผู้เรียน
วันจันทร์ที่ 22 ตุลาคม พ.ศ. 2555
การขยายพันธ์พืช
จากการที่ได้เข้าไปดูงานเรื่องต่าง ๆในเว็บyoutube ทำให้เห็นว่าสิ่งต่าง ๆมากมายที่เป็นความรู้ ช่วยให้เรารู้เรื่องต่าง ๆมากมาย ในวันนี้ที่น่าสนใจคือ การขยายพันธ์พืชต่าง ๆที่ทำโดยคนไทยไม่แน่ใจว่าเป็นภูมิปัญญาชาวบ้านหรือเปล่านะคะ แต่เป็นวิธีที่เห็นแล้วน่าจะให้นักเรียนของเราได้เรียนรู้และนำไปทำเพื่อให้เห็นทักษะในการประกอบอาชีพเกษตรกรรม ที่เป็นอาชีพดั้งเดิมของคนไทย ที่ใครๆ คิดว่าเป็นเกษตรกรแล้วไม่ร่ำรวย คนที่ไม่เรียนหนังสือเท่านั้นที่จะทำอาชีพนี้ แต่จริงๆไม่ใช่ เราในฐานะคนไทยน่าจะเพิ่มมูลค่าในอาชีพดั้งเดิมของเราได้ ซึ่งเป็นแหล่งผลิต อาหาร และบริการต่าง ๆที่ทุกคนในโลกนี้ต้องกินต้องใช้
อันดับแรกขอนำเสนอ การตอนมะละกอ
จากการที่เราได้เรียนมาว่าพืชที่จะตอนได้ต้องเป็นพืชที่มีแกนลำต้นเท่านั้นมาดูกันนะคะว่าเขาตอนมะละกอกันอย่างไร
การตอนกล้วย ตั้งแต่เกิดมาไม่คิดว่ากล้วยจะตอนได้คะ ลองงดูกันนะคะ
การตอนฟักทองใช้เวลาตอน จนออกราก 5 วันปลูกอีก 5 วัน ฟักทองออกลูกเลย เยี่ยมจริงๆ
อันดับแรกขอนำเสนอ การตอนมะละกอ
จากการที่เราได้เรียนมาว่าพืชที่จะตอนได้ต้องเป็นพืชที่มีแกนลำต้นเท่านั้นมาดูกันนะคะว่าเขาตอนมะละกอกันอย่างไร
การตอนกล้วย ตั้งแต่เกิดมาไม่คิดว่ากล้วยจะตอนได้คะ ลองงดูกันนะคะ
วันอาทิตย์ที่ 21 ตุลาคม พ.ศ. 2555
การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
จากการที่หน่วยงานทางการศึกษาให้ความสำคัญกับการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ทำให้เกิดการตื่นตัวในที่จะปรับการจัดการเรียนรู้ให้เท่าทันเทคโนโลยี ครู ผู้บริหารและผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการศึกษาได้ร่วมด้วยช่วยกันในการที่จะขับเคลื่อนการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 โดยมีการนำร่องในลักษณะต่าง ๆ เช่นโรงเรียนมาตรฐานสากล ที่มีการจัดการเรียนรู้ให้นักเรียนได้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง ด้วยเทคโนโลยี มีการคิดประดิษฐ์สร้าง การออกแบบการผลิตชิ้นงานของผู้เรียนอย่างสร้างสรรค์ มีการทำงานในระบบการทำงานเป็นทีม
นอกจากนี้แล้วผลจากการที่มีประชาคมอาเซียนที่ต้องเตรียมตัวด้านการศึกษา ให้ครูนักเรียนสามารถสื่อสารด้วยภาษาอาเซียนคือภาษาอังกฤษ ได้ ใช้เททคโนโลยีในการสื่อสารแลกเปลี่ยนเรียนรู้
จากการที่หน่วยงานทางการศึกษาให้ความสำคัญกับการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ทำให้เกิดการตื่นตัวในที่จะปรับการจัดการเรียนรู้ให้เท่าทันเทคโนโลยี ครู ผู้บริหารและผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการศึกษาได้ร่วมด้วยช่วยกันในการที่จะขับเคลื่อนการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 โดยมีการนำร่องในลักษณะต่าง ๆ เช่นโรงเรียนมาตรฐานสากล ที่มีการจัดการเรียนรู้ให้นักเรียนได้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง ด้วยเทคโนโลยี มีการคิดประดิษฐ์สร้าง การออกแบบการผลิตชิ้นงานของผู้เรียนอย่างสร้างสรรค์ มีการทำงานในระบบการทำงานเป็นทีม
นอกจากนี้แล้วผลจากการที่มีประชาคมอาเซียนที่ต้องเตรียมตัวด้านการศึกษา ให้ครูนักเรียนสามารถสื่อสารด้วยภาษาอาเซียนคือภาษาอังกฤษ ได้ ใช้เททคโนโลยีในการสื่อสารแลกเปลี่ยนเรียนรู้
มาดูกันว่าการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21 (Academic Achievements)มีอะไรบ้าง
1. 1. รู้ภาษายุคดิจิตัล (Digital-Age Literacy) พื้นฐาน วิทยาศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ เทคโนโลยี รู้ภาษาข้อมูล และทัศนภาพ (Visual & Information Literacies รู้พหุวัฒนธรรมและมีความตระหนักสานึกระดับโลก (Multicultural Literacy & Global Awareness)
2. 2.การคิดประดิษฐ์-สร้าง (Inventive Thinking) ปรับตัว-นาตน จัดการกับความซับซ้อน ใฝ่รู้ สร้างสรรค์ กล้าเสี่ยง คิดได้ในระดับสูงและมีเหตุมีผล
3. 3.มีผลิตภาพสูง (High Productivity) จัดลาดับความสาคัญ วางแผน และบริหาร จัดการมุ่งผลสาเร็จ ใช้เครื่องมืออย่างมีประสิทธิผลในโลกแห่ง ความเป็นจริงสามารถผลิตผลงานที่เหมาะสม มีคุณภาพสูง
4. 4.สื่อสารมีประสิทธิผล (Effective Communication) ทักษะทีม การร่วมมือและสัมพันธ์ระหว่างบุคคล ความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และส่วนรวม การสื่อสารเชิงปฏิสัมพันธ์
วันเสาร์ที่ 20 ตุลาคม พ.ศ. 2555
Read Aloud Thailand Traning 19 ตุลาคม 2555
การอ่านที่บกพร่องผู้มีปัญหาต้องได้รับการสอนเสริมกระบวน การสอนอ่านที่มีองค์ประกอบ 5 อย่าง และที่สำคัญที่สุดก็ คือต้องทำตามขั้นตอนจาก ล่างไป บน (bottom-up) ตามภาพด้านล่าง นี้องค์ประกอบ 5 อย่างมีดัง นี้
1. Phonemic awareness - ความสามารถในการได้ยิน รับรู้ และ แยกแยะหน่วยเสียง(phonemes) ต่างๆของภาษาอังกฤษได้ ตลอดจนสามารถควบคุมการใช้ (manipulate) หน่วยเสียงของบทพูด (speech sounds) ที่ประกอบเป็นพยางค์(syllables) และคำ(words)
2. Phonics - องค์ความรู้ที่เกี่ยวกับความเชื่อมโยงระหว่างตัวอักษรกับ เสียง ( letters-sound correspondence)
3. Fluency Instruction - กลยุทธ์การสอนอ่านให้คล่อง
4. Vocabulary - กลยุทธ์การสอนคำศัพท์
5. Comprehension strategies - กลยุทธ์การสอนความเข้าใจในบทอ่าน
อ่านเพิ่มเติมที่ http://www.oknation.net/blog/print.php?id=459300http://www.oknation.net/blog/print.php?id=459300
วันอาทิตย์ที่ 16 กันยายน พ.ศ. 2555
READ ALOUD THAILAND
ถอดรหัสเสียง Phoneme
(Phonemic awareness )
การสอนฟังด้วยการถอดรหัสเสียงเป็นตัวอักษร สอนอ่านด้วยการถอดรหัสตัวอักษรให้เป็นเสียง
ข้อมูลพื้นฐาน
คนไทยไม่ได้ถูกสอนให้รู้จักเสียงสั้น ของพยัญชนะและสระ A B C ฯลฯ เป็นชื่ออักษรและไม่ใช่เสียง
ภาษาอังกฤษมีหน่วยเสียงรวม 42-44 เสียง
Phoneme =หน่วยเสียงที่เล้กที่สุดของเสียง โฟนิม รวมกัน เป็นพยางค์ (syllable)และพยางค์รวมเป็นคำ (word)
ศึกษาเพิ่มเติมที่ http://bit.ly/OvwGcz
(Phonemic awareness )
เนื่องมาจากนโยบายของรัฐบาล ให้มีการสื่อสารภาษาอังกฤษได้ พร้อมเข้าสู่ประชาคม
ASEAN
๘๐% ของนักเรียนทั้งประเทศ
พูดภาษาอังกฤษได้ พร้อมเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ในปี ๒๕๕๘
เพื่อให้นักเรียนทั่วประเทศสามารถสื่อสารภาษาอังกฤษได้ดี
โดยจัดให้มีครูสอนภาษาเพียงพอในทุกห้องเรียน ซึ่ง ศธ.จัดหาครูหรืออาสาสมัครเจ้าของภาษา
(Native Speakers) เพื่อให้การสอนภาษาอังกฤษมีคุณภาพ
มีสำเนียงที่ถูกต้อง เน้นภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร
วันที่ 16-17 กันยายน 2555 ทางสมป.ให้โรงเรียนจัดผู้บริหารและครูจำนวน 7 คนเข้าร่วมประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่องการพัฒนาการจัดการเรียนการสอน โดยใช้ภาษาอังกฤษตามโครงการ READ ALOUD THAILAND ณ โรงแรมริเวอร์ไซด์ กรุงเทพฯ โดยมี ดร อินทิรา ศรีประสิทธิ์ ผู้อำนวยการคลินิคหมอภาษาอังกฤษ และคณะ เป็นวิทยากร
ดร อินทิรา ศรีประสิทธิ์ ได้ก่อตั้งมูลนิธิเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต (Life-long Learning Foundation) ที่มีภารกิจ ในการส่งเสริมงานวิจัย และ กิจกรรมที่นำมาซึ่งนวัตกรรมในการเรียนรู้ และการเรียนการสอนที่จะทำให้คนไทย เก่งภาษาอังกฤษเพื่อจะได้ไม่เสียเปรียบในเวทีแข่งขันนานาชาติ ถือว่าเป็นองค์กรเดียวในประเทศไทยที่ส่งเสริมการอ่านภาษาอังกฤษในแนวทฤษฎี ใหม่
ดร อินทิรา ศรีประสิทธิ์ ได้ก่อตั้งมูลนิธิเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต (Life-long Learning Foundation) ที่มีภารกิจ ในการส่งเสริมงานวิจัย และ กิจกรรมที่นำมาซึ่งนวัตกรรมในการเรียนรู้ และการเรียนการสอนที่จะทำให้คนไทย เก่งภาษาอังกฤษเพื่อจะได้ไม่เสียเปรียบในเวทีแข่งขันนานาชาติ ถือว่าเป็นองค์กรเดียวในประเทศไทยที่ส่งเสริมการอ่านภาษาอังกฤษในแนวทฤษฎี ใหม่
การสอนฟังด้วยการถอดรหัสเสียงเป็นตัวอักษร สอนอ่านด้วยการถอดรหัสตัวอักษรให้เป็นเสียง
ข้อมูลพื้นฐาน
คนไทยไม่ได้ถูกสอนให้รู้จักเสียงสั้น ของพยัญชนะและสระ A B C ฯลฯ เป็นชื่ออักษรและไม่ใช่เสียง
ภาษาอังกฤษมีหน่วยเสียงรวม 42-44 เสียง
Phoneme =หน่วยเสียงที่เล้กที่สุดของเสียง โฟนิม รวมกัน เป็นพยางค์ (syllable)และพยางค์รวมเป็นคำ (word)
ศึกษาเพิ่มเติมที่ http://bit.ly/OvwGcz
วันพฤหัสบดีที่ 6 กันยายน พ.ศ. 2555
หลักสูตรออสเตรเลีย
หลักสูตรออสเตรเลีย
http://www.hcs.sa.edu.au/http://www.hcs.sa.edu.au/
http://www.scootle.edu.au/ec/p/home
www.acara.edu.au
http://www.hcs.sa.edu.au/http://www.hcs.sa.edu.au/
http://www.scootle.edu.au/ec/p/home
www.acara.edu.au
วันเสาร์ที่ 18 สิงหาคม พ.ศ. 2555
การแข่งขันตอบคำถามสารานุกรมไทย
คุณครูและนักเรียนที่ต้องการแนวข้อสอบสำหรับการแข่งขันตอบคำถามสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน
การสอบแข่งขันสารานุกรมไทย เป็นการจัด
(เชิญคลิกที่นี่เลยค่ะ) http://www.lions310a2.net/salanukom/test5201.htm
คลิกดูหนังสือสารานุกรมไทย http://kanchanapisek.or.th/kp6/New/
วันอาทิตย์ที่ 12 สิงหาคม พ.ศ. 2555
ติว PAT
http://www.unigang.com/Article/6562
==================================================================
ติว PAT ความถนัดวิชาชีพครู
==================================================================
ติวเข้ม PAT 1 คณิตศาสตร์
==================================================================
pat3 ข้อเด่นๆ ออกบ่อยๆ...by พี่โหน่ง_01
==================================================================
Pat3 N-series กล้วยๆ ตอนที่ 1:วงจรอนุกรม
==================================================================
เตรียมสอบ PAT 1 กับพี่ณัฐ
==================================================================
ข้อ 70 (PAT 2 : เคมี - มี.ค. 52)
ติวฟิสิกส์
========================================================================
ฟิสิกส์ ครูพี่โหน่ง (อ.สุธี) Ep.2.
========================================================================
ฟิสิกส์ ครูพี่โหน่ง (อ.สุธี) Ep.3
========================================================================
ฟิสิกส์ ครูพี่โหน่ง (อ.สุธี) Ep.4
========================================================================
ฟิสิกส์ ครูพี่โหน่ง (อ.สุธี) Ep.5
========================================================================
ติวเข้าวิศวะ...พี่โหน่ง Part 1
========================================================================
ข้อสอบ O-NET,GAT ภาษาอังกฤษ
เฉลยข้อสอบ O-NET ภาษาอังกฤษ ม.6
=======================================================================
สรุปเข้มฯ#7 ภาษาอังกฤษ O-NET + GAT
=======================================================================
ติวเข้ม GAT วิชาภาษาอังกฤษ
=======================================================================
ภาษาอังกฤษ ครูสมศรี (Ep.1)
=======================================================================
ภาษาอังกฤษ ครูสมศรี (Ep.2)
=======================================================================
สรุปเข้มฯ#7 ภาษาอังกฤษ O-NET + GAT
=======================================================================
ติวเข้ม GAT วิชาภาษาอังกฤษ
=======================================================================
ภาษาอังกฤษ ครูสมศรี (Ep.1)
=======================================================================
ภาษาอังกฤษ ครูสมศรี (Ep.2)
แนะนำเว็บไซต์ติวออนไลน์
แนะนำเว็บไซต์ติวออนไลน์
แนะนำเว็บไซต์ติวออนไลน์ ....เว็บติวเลขดอทคอม ตามลิงค์นี้ http://www.tewlek.com ส่วนอีกเว็บเป็นของต่างประเทศ http://www.khanacademy.org/
คือ เว็บติวเลข ม. ปลาย เพื่อเตรียมสอบเข้ามหาวิทยาลัยโดยเฉพาะ
แต่ถ้าน้องจะใช้เตรียมสอบในโรงเรียนก็ไม่ว่ากันอยู่แล้วครับ ทำไมต้องจึงเรียนเลขในเว็บนี้ ? 1.สอนละเอียด ไม่ข้ามขั้นตอนตั้งแต่เริ่มต้นจนจบ
และ เน้นย้ำความรู้พื้นฐานให้แน่นอยู่เสมอ
ดังนั้น น้องที่ความรู้พื้นฐานไม่แน่นจะสามารถเข้าใจวิธีการทำโจทย์
พร้อมกับปรับปรุงความรู้พื้นฐานได้ การมีความรู้พื้นฐานที่แน่น จะทำให้น้องรู้สึกมั่นใจในการ
ทำโจทย์ที่หลากหลาย พลิกแพลงยังไงก็ทำได้
ดังนั้นเวลาน้องทำโจทย์น้องจะรู้สึกสนุก และ
มีกำลังใจที่จะขยันทำโจทย์ด้วยตัวเอง
ที่มา http://www.obec.go.th/node/23803
แนะนำเว็บไซต์ติวออนไลน์ ....เว็บติวเลขดอทคอม ตามลิงค์นี้ http://www.tewlek.com ส่วนอีกเว็บเป็นของต่างประเทศ http://www.khanacademy.org/
คือ เว็บติวเลข ม. ปลาย เพื่อเตรียมสอบเข้ามหาวิทยาลัยโดยเฉพาะ
แต่ถ้าน้องจะใช้เตรียมสอบในโรงเรียนก็ไม่ว่ากันอยู่แล้วครับ ทำไมต้องจึงเรียนเลขในเว็บนี้ ? 1.สอนละเอียด ไม่ข้ามขั้นตอนตั้งแต่เริ่มต้นจนจบ
และ เน้นย้ำความรู้พื้นฐานให้แน่นอยู่เสมอ
ดังนั้น น้องที่ความรู้พื้นฐานไม่แน่นจะสามารถเข้าใจวิธีการทำโจทย์
พร้อมกับปรับปรุงความรู้พื้นฐานได้ การมีความรู้พื้นฐานที่แน่น จะทำให้น้องรู้สึกมั่นใจในการ
ทำโจทย์ที่หลากหลาย พลิกแพลงยังไงก็ทำได้
ดังนั้นเวลาน้องทำโจทย์น้องจะรู้สึกสนุก และ
มีกำลังใจที่จะขยันทำโจทย์ด้วยตัวเอง
ที่มา http://www.obec.go.th/node/23803
หนังสือ การ์ตูนเศรษฐกิจพอเพียง
หนังสือ การ์ตูนเศรษฐกิจพอเพียง
ดาวน์โหลด หนังสือ 6 เล่ม เกี่ยวกับ หนังสือ การ์ตูนเศรษฐกิจพอเพียง นำสู่สังคมอยู่เย็นเป็นสุขร่วมกัน หนังสือ จากปรัญญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิบัติ
ดาวน์โหลดคลิกที่นี่ http://www.obec.go.th/node/17951
ดาวน์โหลด หนังสือ 6 เล่ม เกี่ยวกับ หนังสือ การ์ตูนเศรษฐกิจพอเพียง นำสู่สังคมอยู่เย็นเป็นสุขร่วมกัน หนังสือ จากปรัญญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิบัติ
ดาวน์โหลดคลิกที่นี่ http://www.obec.go.th/node/17951
Apple iPad 2 WiFi 64GB - แอปเปิ้ล iPad 2 WiFi 64GB
Apple
ข้อมูลทั่วไป Apple iPad 2 WiFi 64GB - แอปเปิ้ล iPad 2 WiFi 64GB
เปิดตัวครั้งแรก 3 มีนาคม 2011 (สยามโฟนฯ)
ออกวางจำหน่าย ไตรมาสที่ 2 ปี 2011 (พฤษภาคม 54)
ราคาแท็บเล็ต Apple iPad 2 WiFi 64GB
- ราคาเปิดตัว 21,900 บาท (พฤษภาคม 54)
- ราคาล่าสุด 19,500 บาท (ปรับปรุง เมื่อเดือนก่อน ราคาปรับลดลง 400)
*
เช็คราคามือถือ Apple แอปเปิ้ล ทุกรุ่น
ข้อมูลตัวเครื่อง
จอแสดงผล TFT-LCD 16 ล้านสี ระบบสัมผัส Multi-Touch
- ความละเอียด 1024 x 768 พิกเซล กว้าง 9.7 นิ้ว
- ป้องกันรอยนิ้วมือ (Anti-fingerprint display coating)
ระบบเซ็นเซอร์ (Sensor)
- ระบบหมุนภาพอัตโนมัติ (Accelerometer)
- ตรวจจับแสงปรับความสว่างอัตโนมัติ (Ambient light)
- ระบบเซนเซอร์หมุนภาพ 3 แกน (Three-axis gyroscope)
มีสีให้เลือก (Colors) : Black, White
ระบบปฏิบัติการ (OS, CPU)
ระบบปฏิบัติการ : iOS เวอร์ชั่น 4.3
หน่วยประมวลผล : Dual Core Dual-core
- ความเร็ว : 1 GHz
หน่วยความจำ 64 GB (ตัวเครื่อง)
- RAM 512MB
ระบบเชื่อมต่อ
WiFi 802.11b/g/n/a
Bluetooth 2.1 + EDR
USB 2.0
HDMI (ต่อสัญญาณเข้าเครื่องโทรทัศน์)
ช่องเสียบชุดหูฟัง 3.5 มิลลิเมตร
ใช้งานอินเตอร์เน็ต
รองรับบราวเซอร์ Safari
รองรับภาษา HTML
รับ-ส่งข้อความ (Messaging)
ข้อความแชท Instant Messaging
ฟังก์ชั่นมัลติมีเดีย
กล้องดิจิตอล (Digital Camera)
กล้องตัวที่สอง (Second Camera)
บันทึกวีดีโอ ภาพเคลื่อนไหว (Video Recording)
- ความละเอียด HD 1280 x 720 พิกเซล
เครื่องเล่นวีดีโอ (Video Player)
- รูปแบบไฟล์ : MPEG-4, H.264, AVI, MOV
เครื่องเล่นเพลง (Music Player)
- รูปแบบไฟล์ : AAC, MP3, WAV
ระบบเสียงรอบทิศทาง 5.1 ช่อง (Surround Sound System)
รองรับไฟล์รูปภาพ : JPG, JPEG, GIF, TIFF
แอพพลิเคชั่นมาตรฐาน
โปรแกรมอ่านเอกสาร (Quick Office editors)
โปรแกรมอ่านไฟล์ PDF
การใช้งานของแบตเตอรี่
แบตเตอรี่มาตรฐาน - mAh (Standard Battery)
ใช้งานอินเตอร์เน็ต 10 ชั่วโมง (Web browsing)
ที่มา http://www.siamphone.com/spec/apple/ipad_2_wifi_64gb.htm
วันจันทร์ที่ 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2555
ผลสอบครูผู้ช่วย 2555
http://sompriaw.wordpress.com/2012/07/08/%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A8%E0%B8%9C%E0%B8%A5%E0%B8%AA%E0%B8%AD%E0%B8%9A%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B8%B9%E0%B8%9C%E0%B8%B9%E0%B9%89%E0%B8%8A%E0%B9%88%E0%B8%A7%E0%B8%A2/
http://kroothaiban.blogspot.com/2012/06/2555_23.html
วันอาทิตย์ที่ 27 พฤษภาคม พ.ศ. 2555
การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (Knowledge Sharing)
การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (Knowledge Sharing) คือ การที่กลุ่มคนที่มีความสนใจในเรื่องใดเรื่องหนึ่งร่วมกัน
มารวมตัวกันและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ด้วยความสมัครใจ เพื่อร่วมสร้างความเข้าใจหรือพัฒนาแนวปฏิบัติในเรื่องนั้นๆ
องค์ประกอบของการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (Knowledge Sharing) มี 3 องค์ประกอบ ได้แก่
1.คน (People) – ถือว่าเป็นองค์ประกอบที่สำคัญที่สุด เพราะเป็นแหล่งศูนย์รวมของความรู้ที่สมควรนำออกมาแบ่งปันเป็นอย่างยิ่ง
2.สถานที่ และบรรยากาศ (Place) – เป็นองค์ประกอบที่สำคัญอีกประการหนึ่งที่จะทำให้การแลกเปลี่ยนเรียนรู้มีชีวิตชีวาและน่าสนใจ
3. สิ่งอำนวยความสะดวกต่างๆ (Infrastructure) - เป็นองค์ประกอบที่สำคัญที่ช่วยให้การแบ่งปันและแลกเปลี่ยนเรียนรู้เกิดได้ง่ายและสะดวกขึ้น
ปัจจัยหลักของการแบ่งปันและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 6 ประการ ได้แก่
1. กำหนดเป้าหมายการแบ่งปันและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ให้ชัดเจนและสัมพันธ์กับเป้าหมายทางธุรกิจ
2. สร้างผู้นำที่เป็นแบบอย่าง
3. สร้างเครือข่ายของผู้มีความรู้จากการปฏิบัติ (Human Networks)
4. กำหนดวิธีการแบ่งปันและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ให้เหมาะกับวัฒนธรรมองค์กร
5. แบ่งปันและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ที่นำไปใช้ในงานประจำวันได้
6. สร้างแรงจูงใจที่สนับสนุนการแบ่งปันและแลกเปลี่ยนเรียนรู้
ที่มา http://kminbusiness.wordpress.com/2009/12/26/%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%81%E0%B8%A5%E0%B8%81%E0%B9%80%E0%B8%9B%E0%B8%A5%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%A2%E0%B8%99%E0%B9%80%E0%B8%A3%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%99%E0%B8%A3%E0%B8%B9%E0%B9%89-knowledge/
มารวมตัวกันและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ด้วยความสมัครใจ เพื่อร่วมสร้างความเข้าใจหรือพัฒนาแนวปฏิบัติในเรื่องนั้นๆ
องค์ประกอบของการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (Knowledge Sharing) มี 3 องค์ประกอบ ได้แก่
1.คน (People) – ถือว่าเป็นองค์ประกอบที่สำคัญที่สุด เพราะเป็นแหล่งศูนย์รวมของความรู้ที่สมควรนำออกมาแบ่งปันเป็นอย่างยิ่ง
2.สถานที่ และบรรยากาศ (Place) – เป็นองค์ประกอบที่สำคัญอีกประการหนึ่งที่จะทำให้การแลกเปลี่ยนเรียนรู้มีชีวิตชีวาและน่าสนใจ
3. สิ่งอำนวยความสะดวกต่างๆ (Infrastructure) - เป็นองค์ประกอบที่สำคัญที่ช่วยให้การแบ่งปันและแลกเปลี่ยนเรียนรู้เกิดได้ง่ายและสะดวกขึ้น
ปัจจัยหลักของการแบ่งปันและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 6 ประการ ได้แก่
1. กำหนดเป้าหมายการแบ่งปันและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ให้ชัดเจนและสัมพันธ์กับเป้าหมายทางธุรกิจ
2. สร้างผู้นำที่เป็นแบบอย่าง
3. สร้างเครือข่ายของผู้มีความรู้จากการปฏิบัติ (Human Networks)
4. กำหนดวิธีการแบ่งปันและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ให้เหมาะกับวัฒนธรรมองค์กร
5. แบ่งปันและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ที่นำไปใช้ในงานประจำวันได้
6. สร้างแรงจูงใจที่สนับสนุนการแบ่งปันและแลกเปลี่ยนเรียนรู้
ที่มา http://kminbusiness.wordpress.com/2009/12/26/%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%81%E0%B8%A5%E0%B8%81%E0%B9%80%E0%B8%9B%E0%B8%A5%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%A2%E0%B8%99%E0%B9%80%E0%B8%A3%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%99%E0%B8%A3%E0%B8%B9%E0%B9%89-knowledge/
การจัดการความรู้
การจัดการความรู้ (อังกฤษ: Knowledge management - KM) คือ การรวบรวม สร้าง จัดระเบียบ แลกเปลี่ยน
และประยุกต์ใช้ความรู้ในองค์กร โดยพัฒนาระบบจาก ข้อมูล ไปสู่ สารสนเทศ เพื่อให้เกิด ความรู้ และ ปัญญา ในที่สุด
รูปแบบการจัดการองค์ความรู้โดยปกติจะถูกจัดให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ขององค์กรและประสงค์ที่จะได้ผลลัพธ์เฉพาะด้าน
เช่น เพื่อแบ่งปันภูมิปัญญา,เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการทำงาน, เพื่อความได้เปรียบทางการแข่งขัน, หรือเพื่อเพิ่มระดับนวัตกรรมให้สูงขึ้น
ประเภทของความรู้
ความรู้สามารถแบ่งออกเป็นประเภทใหญ่ๆ ได้สองประเภท คือ
1. ความรู้ชัดแจ้ง (Explicit Knowledge)
ความรู้ที่เขียนอธิบายออกมาเป็นตัวอักษร เช่น คู่มือปฏิบัติงาน หนังสือ ตำรา เวปไซด์ Blog
2.ความรู้แฝงเร้น หรือความรู้แบบฝังลึก (Tacit Knowledge)
ความรู้ที่ฝังอยู่ในตัวคน
ระดับของความรู้
จำแนกระดับของความรู้ สามารถแบ่งออกได้เป็น 4 ระดับ คือ
1. ความรู้เชิงทฤษฏี (Know-What) เป็นความรู้เชิงข้อเท็จจริง รู้อะไร เป็นอะไร
2.ความรู้เชิงทฤษฏีและเชิงบริบท (Know-How) เป็นความรู้เชื่อมโยงกับโลกของความเป็นจริง
3.ความรู้ในระดับที่อธิบายเหตุผล (Know-Why) เป็นความรู้เชิงเหตุผลระหว่างเรื่องราวหรือเหตุการณ์ต่างๆ ผลของประสบการณ์แก้ปัญหาที่ซับซ้อน
4.ความรู้ในระดับคุณค่า ความเชื่อ (Care-Why) เป็นความรู้ในลักษณะของความคิดริเริ่ม สร้างสรรค์ที่ขับดันมาจากภายในตนเอง
กรอบแนวคิดการจัดการความรู้
แผนผังอิชิคะวะ (Ishikawa diagram) หรือแผงผังก้างปลา
เป็นกรอบแนวคิดอย่างง่ายในการจัดการความรู้ โดยให้การจัดการความรู้เปรียบเสมือนปลา ซึ่งประกอบด้วยส่วนหัว ลำตัว และหาง แต่ละส่วนมีหน้าที่ที่ต่างกันดังนี้
1.ส่วนหัวและตา (Knowledge Vision - KV) มองว่ากำลังจะไปทางไหน ซึ่งต้องตอบให้ได้ว่า "ทำ KM ไปเพื่ออะไร"
2.ส่วนกลางลำตัว (Knowledge Sharing - KS) ส่วนที่เป็นหัวใจให้ความความสำคัญกับการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ช่วยเหลือ เกื้อกูลกันและกัน
3.ส่วนหาง (Knowledge Assets - KA) คือ สร้างคลังความรู้ เชื่อมโยงเครือข่าย ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ "สะบัดหาง" สร้างพลังจากชุมชนแนวปฏิบัติ
ที่มา http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%88%E0%B8%B1%E0%B8%94%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%A3%E0%B8%B9%E0%B9%89
และประยุกต์ใช้ความรู้ในองค์กร โดยพัฒนาระบบจาก ข้อมูล ไปสู่ สารสนเทศ เพื่อให้เกิด ความรู้ และ ปัญญา ในที่สุด
รูปแบบการจัดการองค์ความรู้โดยปกติจะถูกจัดให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ขององค์กรและประสงค์ที่จะได้ผลลัพธ์เฉพาะด้าน
เช่น เพื่อแบ่งปันภูมิปัญญา,เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการทำงาน, เพื่อความได้เปรียบทางการแข่งขัน, หรือเพื่อเพิ่มระดับนวัตกรรมให้สูงขึ้น
ประเภทของความรู้
ความรู้สามารถแบ่งออกเป็นประเภทใหญ่ๆ ได้สองประเภท คือ
1. ความรู้ชัดแจ้ง (Explicit Knowledge)
ความรู้ที่เขียนอธิบายออกมาเป็นตัวอักษร เช่น คู่มือปฏิบัติงาน หนังสือ ตำรา เวปไซด์ Blog
2.ความรู้แฝงเร้น หรือความรู้แบบฝังลึก (Tacit Knowledge)
ความรู้ที่ฝังอยู่ในตัวคน
ระดับของความรู้
จำแนกระดับของความรู้ สามารถแบ่งออกได้เป็น 4 ระดับ คือ
1. ความรู้เชิงทฤษฏี (Know-What) เป็นความรู้เชิงข้อเท็จจริง รู้อะไร เป็นอะไร
2.ความรู้เชิงทฤษฏีและเชิงบริบท (Know-How) เป็นความรู้เชื่อมโยงกับโลกของความเป็นจริง
3.ความรู้ในระดับที่อธิบายเหตุผล (Know-Why) เป็นความรู้เชิงเหตุผลระหว่างเรื่องราวหรือเหตุการณ์ต่างๆ ผลของประสบการณ์แก้ปัญหาที่ซับซ้อน
4.ความรู้ในระดับคุณค่า ความเชื่อ (Care-Why) เป็นความรู้ในลักษณะของความคิดริเริ่ม สร้างสรรค์ที่ขับดันมาจากภายในตนเอง
กรอบแนวคิดการจัดการความรู้
แผนผังอิชิคะวะ (Ishikawa diagram) หรือแผงผังก้างปลา
เป็นกรอบแนวคิดอย่างง่ายในการจัดการความรู้ โดยให้การจัดการความรู้เปรียบเสมือนปลา ซึ่งประกอบด้วยส่วนหัว ลำตัว และหาง แต่ละส่วนมีหน้าที่ที่ต่างกันดังนี้
1.ส่วนหัวและตา (Knowledge Vision - KV) มองว่ากำลังจะไปทางไหน ซึ่งต้องตอบให้ได้ว่า "ทำ KM ไปเพื่ออะไร"
2.ส่วนกลางลำตัว (Knowledge Sharing - KS) ส่วนที่เป็นหัวใจให้ความความสำคัญกับการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ช่วยเหลือ เกื้อกูลกันและกัน
3.ส่วนหาง (Knowledge Assets - KA) คือ สร้างคลังความรู้ เชื่อมโยงเครือข่าย ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ "สะบัดหาง" สร้างพลังจากชุมชนแนวปฏิบัติ
ที่มา http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%88%E0%B8%B1%E0%B8%94%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%A3%E0%B8%B9%E0%B9%89
วันจันทร์ที่ 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2555
สอบบรรรจุครูผู้ช่วย 2555
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) เปิดเผยว่า สพฐ.ได้ทำหนังสือแจ้งไปยังสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา (สพป.) และสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา (สพม.) ทั่วประเทศ เรื่องกำหนดการสอบแข่งขันเพื่อบรรจุและแต่งตั้งบุคคลเข้ารับราชการเป็นข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตำแหน่งครูผู้ช่วย ประจำปี พ.ศ.2555 โดยกำหนดรับสมัครสอบแข่งขันวันที่ 8-14 มิถุนายน ไม่เว้นวันหยุดราชการ ที่ สพม.และ สพป.ที่เปิดรับ และภายในวันที่ 19 มิถุนายน จะประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิสอบแข่งขันโดยจะสอบภาค ก ความรอบรู้ ความสามารถทั่วไป ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับความประพฤติ และการปฏิบัติของวิชาชีพครู ความถนัดและเจตคติต่อวิชาชีพครู ในวันที่ 23 มิถุนายน และสอบภาค ข ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษา ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาเอก ในวันที่ 24 มิถุนายน โดยจะประกาศรายชื่อผู้สอบแข่งขันได้ในวันที่30 มิถุนายน ทั้งนี้ ข้อสอบที่ใช้ สพฐ.จะเป็นผู้ดูแล ซึ่งได้ให้สถาบันอุดมศึกษาเป็นผู้ออกข้อสอบ
ดาวน์โหลดข้อมูล ไฟล์ PDF ได้ที่ --> http://202.143.174.11/personnel/news2011/upfiles/336.pdf
ดาวน์โหลดข้อมูล ไฟล์ PDF ได้ที่ --> http://202.143.174.11/personnel/news2011/upfiles/336.pdf
วันศุกร์ที่ 11 พฤษภาคม พ.ศ. 2555
ระบบการบริหารทรัพยากรมนุษย์
ระบบการบริหารทรัพยากรมนุษย์
การบริหารทรัพยากรมนุษย์แบ่งออกเป็น 2 ระบบ คือ ระบบคุณธรรม และระบบอุปถัมภ์ ดังนี้
1. ระบบคุณธรรม (merit system)
ระบบคุณธรรม เป็นวิธีการคัดเลือกบุคคลเข้าทำงาน โดยใช้การสอบรูปแบบต่างๆ เพื่อประเมินความรู้ ความสามารถของบุคคลที่มีคุณสมบัติครบตามต้องการ โดยไม่คำนึงถึงเหตุผลทางการเมืองหรือความสัมพันธ์ส่วนตัวเป็นสำคัญ
การบริหารทรัพยากรมนุษย์ตามระบบคุณธรรมยึดหลักการ 4 ประการ ได้แก่
1.1 ความเสมอภาคในโอกาส (Equality of opportunity) หมายถึง การเปิดโอกาสที่เท่าเทียมกันในการสมัครงานสำหรับผู้สมัครที่มีคุณสมบัติ ประสบการณ์ และพื้นความรู้ตามที่ระบุไว้ โดยไม่มีข้อกีดกัน อันเนื่องจากฐานะ เพศ ผิว และศาสนา กล่าวคือทุกคนที่มีคุณสมบัติตรงตามเกณฑ์จะมีสิทธิในการถูกพิจารณาเท่าเทียมกันความเสมอภาคในโอกาส จะครอบคลุมถึง
1.1.1 ความเสมอภาคในการสมัครงาน โดยเปิดโอกาสให้ผู้ที่มีคุณสมบัติและพื้นฐานความรู้ตรงตามที่กำหนดไว้ ได้สมัครและเข้าสอบแข่งขัน
1.1.2 ความเสมอภาคในเรื่องค่าตอบแทน โดยยึดหลักการที่ว่างานเท่ากัน เงินเท่ากันและมีสิทธิ์ได้รับโอกาสต่างๆ ตามที่หน่วยงานเปิดให้พนักงานทุกคน
1.1.3 ความเสมอภาคที่จะได้รับการปฏิบัติอย่างเสมอหน้ากันโดยใช้ระเบียบและมาตรฐานเดียวกันทุกเรื่อง อาทิ การบรรจุแต่งตั้ง การฝึกอบรม
1.2 หลักความสามารถ (Competence) หมายถึง การยึดถือความรู้ความสามารถเป็นเกณฑ์ในการคัดเลือกบุคคลเข้าทำงาน โดยเลือกผู้ที่มีความรู้ความสามารถให้เหมาะสมกับตำแหน่งมากที่สุดโดยจะบรรจุแต่งตั้งผู้ที่มีความเหมาะสมตามเกณฑ์มากกว่า เพื่อให้ได้คนที่เหมาะกับงานจริงๆ (Put the right man to the right job) หากจะมีการแต่งตั้งพนักงานระดับผู้บริหาร ก็จะพิจารณาจากผลการปฏิบัติงานขีดความสามารถหรือศักยภาพของการบริหารงานในอนาคต
1.3 หลักความมั่นคงในอาชีพการงาน (Security on tenure) หมายถึง หลักประกันการปฏิบัติงานที่องค์การให้แก่บุคลากรว่าจะได้รับการคุ้มครอง จะไม่ถูกกลั่นแกล้งหรือถูกให้ออกจากงานโดยปราศจากความผิด ไม่ว่าจะโดยเหตุผลส่วนตัวหรือทางการเมือง ช่วยให้ผู้ปฏิบัติงานรู้สึกมั่นคงในหน้าที่
หลักการที่ผู้บริหารใช้ในเรื่องของความมั่นคงในอาชีพการงาน คือ
1.3.1 การดึงดูดใจ (Attraction) โดยพยายามจูงใจให้ผู้ที่มีความรู้ความสามารถให้เข้ามาร่วมงานกับองค์การ
1.3.2 การธำรงรักษา (Retention) โดยการธำรงรักษาพนักงานที่มีความสามารถเหล่านั้นให้ทำงานอยู่กับองค์การ เพราะมีความก้าวหน้ามั่นคง
1.3.3 การจูงใจ (Motivation) โดยกระตุ้นให้พนักงานมีความมุ่งมั่นในอาชีพที่ทำอยู่
1.3.4 การพัฒนา (Development) โดยเปิดโอกาสให้ได้พัฒนาศักยภาพและมีความก้าวหน้าในเส้นทางอาชีพ
1.4 หลักความเป็นกลางทางการเมือง (Political neutrality) หมายถึง การไม่เปิดโอกาสให้มีการใช้อิทธิพลทางการเมืองเข้าแทรกแซงในกิจการงาน หรืออยู่ภายใต้อิทธิพลของนักการเมืองหรือพรรคการเมืองใดๆ
2. ระบบอุปถัมภ์ (Patronage system)
ระบบอุปถัมภ์เป็นระบบการคัดเลือกบุคคลเข้าทำงานโดยใช้เหตุผลทางการเมืองหรือความสัมพันธ์เป็นหลักสำคัญ โดยไม่คำนึงถึงความรู้ ความสามารถ และความเหมาะสมเป็นประการหลักลักษณะทั่ว ๆ ไป ของระบบอุปถัมภ์จึงมีลักษณะตรงกันข้ามกับระบบคุณธรรม ระบบนี้มีชื่อเรียกอีกหลายชื่อ เช่น ระบบชุบเลี้ยง (Spoiled system) ระบบพรรคพวกหรือระบบเล่นพวก (Nepotism) หรือระบบคนพิเศษ (Favoritism)
หลักการสำคัญของระบบอุปถัมภ์ สรุปได้ดังนี้
2.1 ระบบสืบสายโลหิต เป็นระบบที่บุตรชายคนโตจะได้สืบทอดตำแหน่งของบิดา
2.2 ระบบชอบพอเป็นพิเศษ เป็นระบบที่แต่งตั้งผู้ที่อยู่ใกล้ชิด หรือคนที่โปรดปรานเป็นพิเศษให้ดำรงตำแหน่ง
2.3 ระบบแลกเปลี่ยน เป็นระบบที่ใช้สิ่งของหรือทรัพย์สินมีค่ามาแลกเปลี่ยนกับตำแหน่งการยึดระบบอุปถัมภ์เป็นแนวปฏิบัติในการบริหารทรัพยากรมนุษย์ในองค์การจะก่อให้เกิดผล ดังนี้
1) การพิจารณาบรรจุแต่งตั้ง เลื่อนขั้น เลื่อนตำแหน่ง เป็นไปตามความพอใจส่วน
บุคคลของหัวหน้าเป็นหลัก ไม่ได้คำนึงถึงความรู้ความส่ามารถของบุคคลเป็นเกณฑ์
2) การคัดเลือกคนไม่เปิดโอกาสที่เท่าเทียมกันแก่ผู้ที่มีสิทธิ์ แต่จะให้โอกาสกับพวกพ้องตนเองก่อน
3) ผู้ปฏิบัติงานมุ่งทำงานเพื่อเอาใจผู้ครองอำนาจ มากกว่าจะปฏิบัติงานตามหน้าที่
4) อิทธิพลทางการเมืองเข้ามาแทรกแซงการดำเนินงานภายในของหน่วยงาน
5) ผู้ปฏิบัติงานไม่มีความมั่นคงในหน้าที่ที่กำลังทำอยู่ เพราะอาจถูกปลดได้ถ้าผู้มี
อำนาจไม่พอใจ
จากคุณลักษณะเด่นๆ ของระบบการบริหารทั้งสองระบบที่เสนอไปนั้น พอจะสรุปข้อเปรียบเทียบระหว่างทั้งสองระบบโดยพิจารณาจากหลักปฏิบัติของแต่ละระบบได้ดังต่อไปนี้
แผนภาพ การเปรียบเทียบหลักปฏิบัติระหว่างระบบคุณธรรมกับระบบอุปถัมภ์
ระบบคุณธรรม ระบบอุปถัมภ์
1. ยึดหลักความสามารถ
2. เปิดโอกาสให้ทุกคนเท่าเทียมกัน
3. มีความมั่นคงในการทำงาน
4. ไม่มีอิทธิพลทางการเมืองเข้าแทรก
1. ยึดความพึงพอใจ
2. ให้โอกาสแก่พรรคพวกหรือญาติพี่น้อง
3. ขาดความมั่นคงในการทำงาน
4. มีอิทธิพลการเมืองเข้าแทรกแซงการทำงาน
อ้างอิง : ไพโรจน์ อุลิต. 2547. ระบบการบริหารทรัพยากรมนุษย์. [Online] Available URL ; http://it.aru.ac.th/ courseware2/detail/chapter2/c28.htm
ที่มา isc.ru.ac.th/data/PS0004236.doc
การบริหารทรัพยากรมนุษย์แบ่งออกเป็น 2 ระบบ คือ ระบบคุณธรรม และระบบอุปถัมภ์ ดังนี้
1. ระบบคุณธรรม (merit system)
ระบบคุณธรรม เป็นวิธีการคัดเลือกบุคคลเข้าทำงาน โดยใช้การสอบรูปแบบต่างๆ เพื่อประเมินความรู้ ความสามารถของบุคคลที่มีคุณสมบัติครบตามต้องการ โดยไม่คำนึงถึงเหตุผลทางการเมืองหรือความสัมพันธ์ส่วนตัวเป็นสำคัญ
การบริหารทรัพยากรมนุษย์ตามระบบคุณธรรมยึดหลักการ 4 ประการ ได้แก่
1.1 ความเสมอภาคในโอกาส (Equality of opportunity) หมายถึง การเปิดโอกาสที่เท่าเทียมกันในการสมัครงานสำหรับผู้สมัครที่มีคุณสมบัติ ประสบการณ์ และพื้นความรู้ตามที่ระบุไว้ โดยไม่มีข้อกีดกัน อันเนื่องจากฐานะ เพศ ผิว และศาสนา กล่าวคือทุกคนที่มีคุณสมบัติตรงตามเกณฑ์จะมีสิทธิในการถูกพิจารณาเท่าเทียมกันความเสมอภาคในโอกาส จะครอบคลุมถึง
1.1.1 ความเสมอภาคในการสมัครงาน โดยเปิดโอกาสให้ผู้ที่มีคุณสมบัติและพื้นฐานความรู้ตรงตามที่กำหนดไว้ ได้สมัครและเข้าสอบแข่งขัน
1.1.2 ความเสมอภาคในเรื่องค่าตอบแทน โดยยึดหลักการที่ว่างานเท่ากัน เงินเท่ากันและมีสิทธิ์ได้รับโอกาสต่างๆ ตามที่หน่วยงานเปิดให้พนักงานทุกคน
1.1.3 ความเสมอภาคที่จะได้รับการปฏิบัติอย่างเสมอหน้ากันโดยใช้ระเบียบและมาตรฐานเดียวกันทุกเรื่อง อาทิ การบรรจุแต่งตั้ง การฝึกอบรม
1.2 หลักความสามารถ (Competence) หมายถึง การยึดถือความรู้ความสามารถเป็นเกณฑ์ในการคัดเลือกบุคคลเข้าทำงาน โดยเลือกผู้ที่มีความรู้ความสามารถให้เหมาะสมกับตำแหน่งมากที่สุดโดยจะบรรจุแต่งตั้งผู้ที่มีความเหมาะสมตามเกณฑ์มากกว่า เพื่อให้ได้คนที่เหมาะกับงานจริงๆ (Put the right man to the right job) หากจะมีการแต่งตั้งพนักงานระดับผู้บริหาร ก็จะพิจารณาจากผลการปฏิบัติงานขีดความสามารถหรือศักยภาพของการบริหารงานในอนาคต
1.3 หลักความมั่นคงในอาชีพการงาน (Security on tenure) หมายถึง หลักประกันการปฏิบัติงานที่องค์การให้แก่บุคลากรว่าจะได้รับการคุ้มครอง จะไม่ถูกกลั่นแกล้งหรือถูกให้ออกจากงานโดยปราศจากความผิด ไม่ว่าจะโดยเหตุผลส่วนตัวหรือทางการเมือง ช่วยให้ผู้ปฏิบัติงานรู้สึกมั่นคงในหน้าที่
หลักการที่ผู้บริหารใช้ในเรื่องของความมั่นคงในอาชีพการงาน คือ
1.3.1 การดึงดูดใจ (Attraction) โดยพยายามจูงใจให้ผู้ที่มีความรู้ความสามารถให้เข้ามาร่วมงานกับองค์การ
1.3.2 การธำรงรักษา (Retention) โดยการธำรงรักษาพนักงานที่มีความสามารถเหล่านั้นให้ทำงานอยู่กับองค์การ เพราะมีความก้าวหน้ามั่นคง
1.3.3 การจูงใจ (Motivation) โดยกระตุ้นให้พนักงานมีความมุ่งมั่นในอาชีพที่ทำอยู่
1.3.4 การพัฒนา (Development) โดยเปิดโอกาสให้ได้พัฒนาศักยภาพและมีความก้าวหน้าในเส้นทางอาชีพ
1.4 หลักความเป็นกลางทางการเมือง (Political neutrality) หมายถึง การไม่เปิดโอกาสให้มีการใช้อิทธิพลทางการเมืองเข้าแทรกแซงในกิจการงาน หรืออยู่ภายใต้อิทธิพลของนักการเมืองหรือพรรคการเมืองใดๆ
2. ระบบอุปถัมภ์ (Patronage system)
ระบบอุปถัมภ์เป็นระบบการคัดเลือกบุคคลเข้าทำงานโดยใช้เหตุผลทางการเมืองหรือความสัมพันธ์เป็นหลักสำคัญ โดยไม่คำนึงถึงความรู้ ความสามารถ และความเหมาะสมเป็นประการหลักลักษณะทั่ว ๆ ไป ของระบบอุปถัมภ์จึงมีลักษณะตรงกันข้ามกับระบบคุณธรรม ระบบนี้มีชื่อเรียกอีกหลายชื่อ เช่น ระบบชุบเลี้ยง (Spoiled system) ระบบพรรคพวกหรือระบบเล่นพวก (Nepotism) หรือระบบคนพิเศษ (Favoritism)
หลักการสำคัญของระบบอุปถัมภ์ สรุปได้ดังนี้
2.1 ระบบสืบสายโลหิต เป็นระบบที่บุตรชายคนโตจะได้สืบทอดตำแหน่งของบิดา
2.2 ระบบชอบพอเป็นพิเศษ เป็นระบบที่แต่งตั้งผู้ที่อยู่ใกล้ชิด หรือคนที่โปรดปรานเป็นพิเศษให้ดำรงตำแหน่ง
2.3 ระบบแลกเปลี่ยน เป็นระบบที่ใช้สิ่งของหรือทรัพย์สินมีค่ามาแลกเปลี่ยนกับตำแหน่งการยึดระบบอุปถัมภ์เป็นแนวปฏิบัติในการบริหารทรัพยากรมนุษย์ในองค์การจะก่อให้เกิดผล ดังนี้
1) การพิจารณาบรรจุแต่งตั้ง เลื่อนขั้น เลื่อนตำแหน่ง เป็นไปตามความพอใจส่วน
บุคคลของหัวหน้าเป็นหลัก ไม่ได้คำนึงถึงความรู้ความส่ามารถของบุคคลเป็นเกณฑ์
2) การคัดเลือกคนไม่เปิดโอกาสที่เท่าเทียมกันแก่ผู้ที่มีสิทธิ์ แต่จะให้โอกาสกับพวกพ้องตนเองก่อน
3) ผู้ปฏิบัติงานมุ่งทำงานเพื่อเอาใจผู้ครองอำนาจ มากกว่าจะปฏิบัติงานตามหน้าที่
4) อิทธิพลทางการเมืองเข้ามาแทรกแซงการดำเนินงานภายในของหน่วยงาน
5) ผู้ปฏิบัติงานไม่มีความมั่นคงในหน้าที่ที่กำลังทำอยู่ เพราะอาจถูกปลดได้ถ้าผู้มี
อำนาจไม่พอใจ
จากคุณลักษณะเด่นๆ ของระบบการบริหารทั้งสองระบบที่เสนอไปนั้น พอจะสรุปข้อเปรียบเทียบระหว่างทั้งสองระบบโดยพิจารณาจากหลักปฏิบัติของแต่ละระบบได้ดังต่อไปนี้
แผนภาพ การเปรียบเทียบหลักปฏิบัติระหว่างระบบคุณธรรมกับระบบอุปถัมภ์
ระบบคุณธรรม ระบบอุปถัมภ์
1. ยึดหลักความสามารถ
2. เปิดโอกาสให้ทุกคนเท่าเทียมกัน
3. มีความมั่นคงในการทำงาน
4. ไม่มีอิทธิพลทางการเมืองเข้าแทรก
1. ยึดความพึงพอใจ
2. ให้โอกาสแก่พรรคพวกหรือญาติพี่น้อง
3. ขาดความมั่นคงในการทำงาน
4. มีอิทธิพลการเมืองเข้าแทรกแซงการทำงาน
อ้างอิง : ไพโรจน์ อุลิต. 2547. ระบบการบริหารทรัพยากรมนุษย์. [Online] Available URL ; http://it.aru.ac.th/ courseware2/detail/chapter2/c28.htm
ที่มา isc.ru.ac.th/data/PS0004236.doc
วันพฤหัสบดีที่ 10 พฤษภาคม พ.ศ. 2555
การจัดทำมาตรฐาน ภาระงานสำหรับข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาในสถานศึกษา
พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาพ.ศ. ๒๕๔๗
มาตรา ๒๗ ให้ผู้บริหารสถานศึกษาเป็นผู้บังคับบัญชาของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาในสถานศึกษา และมีอำนาจและหน้าที่ ดังต่อไปนี้
(๔) จัดทำมาตรฐาน ภาระงานสำหรับข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาในสถานศึกษา
1. ขอบข่ายและภารกิจของสถานศึกษา
2. การแบ่งส่วนราชการภายในสถานศึกษา
3. ระเบียบที่คณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษากำหนด
4. กำหนดอำนาจหน้าที่ของแต่ละส่วนราชการภารกิจของสถานศึกษาที่กระทรวงศึกษาธิการกระจายอำนาจการบริหารและการจัดการศึกษา
ทั้งด้านวิชาการ งบประมาณ การบริหารงานบุคคล และการบริหารทั่วไป
1. งานบริหารวิชาการ
1.1 การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา
1.2 การพัฒนากระบวนการเรียนรู้
1.3 การวัดผล ประเมินผล และเทียบโอนผลการเรียน
1.4 การวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา
1.5 การพัฒนาสื่อ นวัตกรรม และเทคโนโลยีทางการศึกษา
1.6 การพัฒนาแหล่งเรียนรู้
1.7 การนิเทศการศึกษา
1.8 การแนะแนวการศึกษา
1.9 การพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
1.10 การส่งเสริมความรู้ด้านวิชาการแก่ชุมชน
1.11 การประสานความร่วมมือในการพัฒนาวิชาการกับสถานศึกษาอื่น
1.12 การส่งเสริมและสนับสนุนงานวิชาการแก่บุคคล ครอบครัว องค์กร หน่วยงานและสถาบันอื่นที่จัดการศึกษา
2. งานบริหารงบประมาณ
2.1 การจัดทำและเสนอของบประมาณ
2.2 การจัดสรรงบประมาณ
2.3 การตรวจสอบ ติดตาม ประเมินผล และรายงานผลการใช้เงินและผลการดำเนินงาน
2.4 การระดมทรัพยากรและการลงทุนเพื่อการศึกษา
2.5 การบริหารการเงิน
2.6 การบริหารบัญชี
2.7 การบริหารพัสดุและสินทรัพย์
3. งานบริหารงานบุคคล
3.1 การวางแผนอัตรากำลังและกำหนดตำแหน่ง
3.2 การสรรหาและการบรรจุแต่งตั้ง
3.3 การเสริมสร้างประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ
3.4 วินัยและการรักษาวินัย
3.5 การออกจากราชการ
4. งานบริหารทั่วไป
4.1 การดำเนินงานธุรการ
4.2 งานเลขานุการคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
4.3 งานพัฒนาระบบและเครือข่ายข้อมูลสารสนเทศ
4.4 การประสานและพัฒนาเครือข่ายการศึกษา
4.5 การจัดระบบการบริหารและพัฒนาองค์กร
4.6 งานเทคโนโลยีสารสนเทศ
4.7 การส่งเสริม สนับสนุนด้านวิชาการ งบประมาณ บุคลากร และบริหารทั่วไป
4.8 การจัดสถานที่และสภาพแวดล้อม
4.9 การจัดทำสำมะโนผู้เรียน
4.10 การรับนักเรียน
4.11 การส่งเสริมและประสานงานการศึกษาในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย
4.12 การระดมทรัพยากรเพื่อการศึกษา
4.13 งานส่งเสริมงานกิจการนักเรียน
4.14 การประชาสัมพันธ์งานการศึกษา
4.15 การส่งเสริม สนับสนุน และประสานงานการศึกษาของบุคคล ชุมชน องค์กร
หน่วยงานและสถาบัน สังคมอื่นที่จัดการศึกษา
4.16 งานประสานราชการกับเขตพื้นที่การศึกษาและหน่วยงานอื่น
4.17 การจัดระบบการควบคุมภายในหน่วยงาน
4.18 งานบริการสาธารณะ
4.19 งานที่ไม่ได้ระบุไว้ในงานอื่น
ที่มา คู่มือการปฏิบัติงานข้าราชการคู่
มาตรา ๒๗ ให้ผู้บริหารสถานศึกษาเป็นผู้บังคับบัญชาของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาในสถานศึกษา และมีอำนาจและหน้าที่ ดังต่อไปนี้
(๔) จัดทำมาตรฐาน ภาระงานสำหรับข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาในสถานศึกษา
1. ขอบข่ายและภารกิจของสถานศึกษา
2. การแบ่งส่วนราชการภายในสถานศึกษา
3. ระเบียบที่คณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษากำหนด
4. กำหนดอำนาจหน้าที่ของแต่ละส่วนราชการภารกิจของสถานศึกษาที่กระทรวงศึกษาธิการกระจายอำนาจการบริหารและการจัดการศึกษา
ทั้งด้านวิชาการ งบประมาณ การบริหารงานบุคคล และการบริหารทั่วไป
1. งานบริหารวิชาการ
1.1 การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา
1.2 การพัฒนากระบวนการเรียนรู้
1.3 การวัดผล ประเมินผล และเทียบโอนผลการเรียน
1.4 การวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา
1.5 การพัฒนาสื่อ นวัตกรรม และเทคโนโลยีทางการศึกษา
1.6 การพัฒนาแหล่งเรียนรู้
1.7 การนิเทศการศึกษา
1.8 การแนะแนวการศึกษา
1.9 การพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
1.10 การส่งเสริมความรู้ด้านวิชาการแก่ชุมชน
1.11 การประสานความร่วมมือในการพัฒนาวิชาการกับสถานศึกษาอื่น
1.12 การส่งเสริมและสนับสนุนงานวิชาการแก่บุคคล ครอบครัว องค์กร หน่วยงานและสถาบันอื่นที่จัดการศึกษา
2. งานบริหารงบประมาณ
2.1 การจัดทำและเสนอของบประมาณ
2.2 การจัดสรรงบประมาณ
2.3 การตรวจสอบ ติดตาม ประเมินผล และรายงานผลการใช้เงินและผลการดำเนินงาน
2.4 การระดมทรัพยากรและการลงทุนเพื่อการศึกษา
2.5 การบริหารการเงิน
2.6 การบริหารบัญชี
2.7 การบริหารพัสดุและสินทรัพย์
3. งานบริหารงานบุคคล
3.1 การวางแผนอัตรากำลังและกำหนดตำแหน่ง
3.2 การสรรหาและการบรรจุแต่งตั้ง
3.3 การเสริมสร้างประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ
3.4 วินัยและการรักษาวินัย
3.5 การออกจากราชการ
4. งานบริหารทั่วไป
4.1 การดำเนินงานธุรการ
4.2 งานเลขานุการคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
4.3 งานพัฒนาระบบและเครือข่ายข้อมูลสารสนเทศ
4.4 การประสานและพัฒนาเครือข่ายการศึกษา
4.5 การจัดระบบการบริหารและพัฒนาองค์กร
4.6 งานเทคโนโลยีสารสนเทศ
4.7 การส่งเสริม สนับสนุนด้านวิชาการ งบประมาณ บุคลากร และบริหารทั่วไป
4.8 การจัดสถานที่และสภาพแวดล้อม
4.9 การจัดทำสำมะโนผู้เรียน
4.10 การรับนักเรียน
4.11 การส่งเสริมและประสานงานการศึกษาในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย
4.12 การระดมทรัพยากรเพื่อการศึกษา
4.13 งานส่งเสริมงานกิจการนักเรียน
4.14 การประชาสัมพันธ์งานการศึกษา
4.15 การส่งเสริม สนับสนุน และประสานงานการศึกษาของบุคคล ชุมชน องค์กร
หน่วยงานและสถาบัน สังคมอื่นที่จัดการศึกษา
4.16 งานประสานราชการกับเขตพื้นที่การศึกษาและหน่วยงานอื่น
4.17 การจัดระบบการควบคุมภายในหน่วยงาน
4.18 งานบริการสาธารณะ
4.19 งานที่ไม่ได้ระบุไว้ในงานอื่น
ที่มา คู่มือการปฏิบัติงานข้าราชการคู่
การมอบอำนาจทางราชการ
ระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา (ฉบับที่ ๓)พ.ศ. ๒๕๕๓
มาตรา 68 ถ้าตำแหน่งข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาตำแหน่งใดว่างลง หรือผู้ดำรงตำแหน่งไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ราชการได้ ให้ ผู้ 53 สั่งให้ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาไปรักษาการในตำแหน่งได้ ******* การรักษาการในตำแหน่ง*************
พรบ.ระเบียบพระราชบัญญัติ
ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ
พ.ศ. ๒๕๔๖
การปฏิบัติราชการแทน
มาตรา ๔๕ อำนาจในการสั่ง การอนุญาต การอนุมัติ การปฏิบัติราชการ ผู้ดำรงตำแหน่งนั้นอาจมอบอำนาจให้ผู้ดำรงตำแหน่งอื่นปฏิบัติราชการแทนได้ โดยคำนึงถึงความเป็นอิสระ การบริหารงานที่คล่องตัวในการจัดการศึกษาของสถานศึกษาการมอบอำนาจตามมาตรานี้ให้ทำเป็นหนังสือเมื่อได้ได้มอบ อำนาจแล้ว ผู้มอบอำนาจมีหน้าที่กำกับติดตามผลการปฏิบัติราชการของผู้รับมอบอำนาจและให้ มีอำนาจแนะนำและแก้ไขการปฏิบัติราชการของผู้รับมอบอำนาจได้
(๖) ผู้ อำนวยการสถานศึกษาหรือผู้ดำรงตำแหน่งเทียบเท่า อาจมอบอำนาจให้ข้าราชการในสถานศึกษาหรือในหน่วยงานที่เรียกชื่ออย่างอื่นได้ ตามระเบียบที่คณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษากำหนด
มาตรา ๔๕ อำนาจในการสั่ง การอนุญาต การอนุมัติ การปฏิบัติราชการหรือการดำเนินการอื่นที่ผู้ดำรงตำแหน่งใดในพระราชบัญญัติ นี้จะพึงปฏิบัติหรือดำเนินการตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ หรือคำสั่งใด หรือมติของคณะรัฐมนตรีในเรื่องใด ถ้ากฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ หรือคำสั่งนั้น หรือมติของคณะรัฐมนตรีในเรื่องนั้น มิได้กำหนดเรื่องการมอบอำนาจไว้เป็นอย่างอื่น หรือมิได้ห้ามเรื่องการมอบอำนาจไว้ ผู้ดำรงตำแหน่งนั้นอาจมอบอำนาจให้ผู้ดำรงตำแหน่งอื่นปฏิบัติราชการแทนได้ โดยคำนึงถึงความเป็นอิสระ การบริหารงานที่คล่องตัวในการจัดการศึกษาของสถานศึกษาและของสำนักงานเขต พื้นที่การศึกษาที่บัญญัติในมาตรา ๔๔ (๑) และ (๒) ดังต่อไปนี้
(๑) รัฐมนตรี ว่าการกระทรวงศึกษาธิการอาจมอบอำนาจให้รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ปลัดกระทรวง เลขาธิการ หรือหัวหน้าส่วนราชการซึ่งดำรงตำแหน่งเทียบเท่าอธิการบดีในสถานศึกษาของรัฐ ที่จัดการศึกษาระดับปริญญาในสังกัด หรือผู้ว่าราชการจังหวัด
(๒) ปลัด กระทรวงอาจมอบอำนาจให้รองปลัดกระทรวง ผู้ช่วยปลัดกระทรวงหรือเลขาธิการ อธิการบดีในสถานศึกษาของรัฐที่จัดการศึกษาระดับปริญญาในสังกัด หรือผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา หรือผู้อำนวยการสถานศึกษา หรือผู้ว่าราชการจังหวัด
(๓) เลขาธิการ อาจมอบอำนาจให้รองเลขาธิการ ผู้ช่วยเลขาธิการ อธิการบดีในสถานศึกษาของรัฐที่จัดการศึกษาระดับปริญญาในสังกัด ผู้อำนวยการสำนัก ผู้อำนวยการสำนักบริหารงานหรือผู้ดำรงตำแหน่งเทียบเท่า ผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา หรือผู้อำนวยการสถานศึกษาหรือผู้ว่าราชการจังหวัด
(๔) ผู้ อำนวยการสำนัก ผู้อำนวยการสำนักบริหารงาน หรือผู้ดำรงตำแหน่งเทียบเท่าอาจมอบอำนาจให้ผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษา ผู้อำนวยการสถานศึกษา หรือผู้ดำรงตำแหน่งเทียบเท่า
(๕) ผู้ อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาหรือผู้ดำรงตำแหน่งเทียบเท่า อาจมอบอำนาจให้ข้าราชการในสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา หรือผู้อำนวยการสถานศึกษาหรือหัวหน้าหน่วยงานที่เรียกชื่ออย่างอื่นในเขต พื้นที่การศึกษาที่ตนรับผิดชอบได้ตามระเบียบที่เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐานกำหนด
(๖) ผู้ อำนวยการสถานศึกษาหรือผู้ดำรงตำแหน่งเทียบเท่า อาจมอบอำนาจให้ข้าราชการในสถานศึกษาหรือในหน่วยงานที่เรียกชื่ออย่างอื่นได้ ตามระเบียบที่คณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษากำหนด
(๗) ผู้ดำรงตำแหน่ง (๑) ถึง (๖) อาจมอบอำนาจให้บุคคลอื่นได้ตามระเบียบที่คณะรัฐมนตรีกำหนด
การมอบอำนาจตามมาตรานี้ให้ทำเป็นหนังสือ
การรักษาราชการแทน
มาตรา ๕๔ ในกรณีที่ไม่มีผู้ดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการสถานศึกษา หรือมีแต่ไม่อาจปฏิบัติราชการได้ ให้รองผู้อำนวยการสถานศึกษารักษาราชการแทน ถ้ามีรองผู้อำนวยการสถานศึกษาหลายคน ให้ผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาแต่งตั้งรองผู้อำนวยการสถานศึกษา คนใดคนหนึ่งรักษาราชการแทน ถ้าไม่มีผู้ดำรงตำแหน่งรองผู้อำนวยการสถานศึกษา หรือมีแต่ไม่อาจปฏิบัติราชการได้ ให้ผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาแต่งตั้งข้าราชการในสถานศึกษาคนใด คนหนึ่งเป็นผู้รักษาราชการแทนก็ได้
******************************************************************************
ตัวอย่าง
ผู้บริหารไม่อยู่ ไปราชการต่างจังหวัดจะมอบหมายรองผู้อำนวยการตามข้อใดจึงจะถูกต้อง
ตอบ รักษาราชการแทน
มาตรา 68 ถ้าตำแหน่งข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาตำแหน่งใดว่างลง หรือผู้ดำรงตำแหน่งไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ราชการได้ ให้ ผู้ 53 สั่งให้ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาไปรักษาการในตำแหน่งได้ ******* การรักษาการในตำแหน่ง*************
พรบ.ระเบียบพระราชบัญญัติ
ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ
พ.ศ. ๒๕๔๖
การปฏิบัติราชการแทน
มาตรา ๔๕ อำนาจในการสั่ง การอนุญาต การอนุมัติ การปฏิบัติราชการ ผู้ดำรงตำแหน่งนั้นอาจมอบอำนาจให้ผู้ดำรงตำแหน่งอื่นปฏิบัติราชการแทนได้ โดยคำนึงถึงความเป็นอิสระ การบริหารงานที่คล่องตัวในการจัดการศึกษาของสถานศึกษาการมอบอำนาจตามมาตรานี้ให้ทำเป็นหนังสือเมื่อได้ได้มอบ อำนาจแล้ว ผู้มอบอำนาจมีหน้าที่กำกับติดตามผลการปฏิบัติราชการของผู้รับมอบอำนาจและให้ มีอำนาจแนะนำและแก้ไขการปฏิบัติราชการของผู้รับมอบอำนาจได้
(๖) ผู้ อำนวยการสถานศึกษาหรือผู้ดำรงตำแหน่งเทียบเท่า อาจมอบอำนาจให้ข้าราชการในสถานศึกษาหรือในหน่วยงานที่เรียกชื่ออย่างอื่นได้ ตามระเบียบที่คณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษากำหนด
มาตรา ๔๕ อำนาจในการสั่ง การอนุญาต การอนุมัติ การปฏิบัติราชการหรือการดำเนินการอื่นที่ผู้ดำรงตำแหน่งใดในพระราชบัญญัติ นี้จะพึงปฏิบัติหรือดำเนินการตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ หรือคำสั่งใด หรือมติของคณะรัฐมนตรีในเรื่องใด ถ้ากฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ หรือคำสั่งนั้น หรือมติของคณะรัฐมนตรีในเรื่องนั้น มิได้กำหนดเรื่องการมอบอำนาจไว้เป็นอย่างอื่น หรือมิได้ห้ามเรื่องการมอบอำนาจไว้ ผู้ดำรงตำแหน่งนั้นอาจมอบอำนาจให้ผู้ดำรงตำแหน่งอื่นปฏิบัติราชการแทนได้ โดยคำนึงถึงความเป็นอิสระ การบริหารงานที่คล่องตัวในการจัดการศึกษาของสถานศึกษาและของสำนักงานเขต พื้นที่การศึกษาที่บัญญัติในมาตรา ๔๔ (๑) และ (๒) ดังต่อไปนี้
(๑) รัฐมนตรี ว่าการกระทรวงศึกษาธิการอาจมอบอำนาจให้รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ปลัดกระทรวง เลขาธิการ หรือหัวหน้าส่วนราชการซึ่งดำรงตำแหน่งเทียบเท่าอธิการบดีในสถานศึกษาของรัฐ ที่จัดการศึกษาระดับปริญญาในสังกัด หรือผู้ว่าราชการจังหวัด
(๒) ปลัด กระทรวงอาจมอบอำนาจให้รองปลัดกระทรวง ผู้ช่วยปลัดกระทรวงหรือเลขาธิการ อธิการบดีในสถานศึกษาของรัฐที่จัดการศึกษาระดับปริญญาในสังกัด หรือผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา หรือผู้อำนวยการสถานศึกษา หรือผู้ว่าราชการจังหวัด
(๓) เลขาธิการ อาจมอบอำนาจให้รองเลขาธิการ ผู้ช่วยเลขาธิการ อธิการบดีในสถานศึกษาของรัฐที่จัดการศึกษาระดับปริญญาในสังกัด ผู้อำนวยการสำนัก ผู้อำนวยการสำนักบริหารงานหรือผู้ดำรงตำแหน่งเทียบเท่า ผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา หรือผู้อำนวยการสถานศึกษาหรือผู้ว่าราชการจังหวัด
(๔) ผู้ อำนวยการสำนัก ผู้อำนวยการสำนักบริหารงาน หรือผู้ดำรงตำแหน่งเทียบเท่าอาจมอบอำนาจให้ผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษา ผู้อำนวยการสถานศึกษา หรือผู้ดำรงตำแหน่งเทียบเท่า
(๕) ผู้ อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาหรือผู้ดำรงตำแหน่งเทียบเท่า อาจมอบอำนาจให้ข้าราชการในสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา หรือผู้อำนวยการสถานศึกษาหรือหัวหน้าหน่วยงานที่เรียกชื่ออย่างอื่นในเขต พื้นที่การศึกษาที่ตนรับผิดชอบได้ตามระเบียบที่เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐานกำหนด
(๖) ผู้ อำนวยการสถานศึกษาหรือผู้ดำรงตำแหน่งเทียบเท่า อาจมอบอำนาจให้ข้าราชการในสถานศึกษาหรือในหน่วยงานที่เรียกชื่ออย่างอื่นได้ ตามระเบียบที่คณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษากำหนด
(๗) ผู้ดำรงตำแหน่ง (๑) ถึง (๖) อาจมอบอำนาจให้บุคคลอื่นได้ตามระเบียบที่คณะรัฐมนตรีกำหนด
การมอบอำนาจตามมาตรานี้ให้ทำเป็นหนังสือ
การรักษาราชการแทน
มาตรา ๕๔ ในกรณีที่ไม่มีผู้ดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการสถานศึกษา หรือมีแต่ไม่อาจปฏิบัติราชการได้ ให้รองผู้อำนวยการสถานศึกษารักษาราชการแทน ถ้ามีรองผู้อำนวยการสถานศึกษาหลายคน ให้ผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาแต่งตั้งรองผู้อำนวยการสถานศึกษา คนใดคนหนึ่งรักษาราชการแทน ถ้าไม่มีผู้ดำรงตำแหน่งรองผู้อำนวยการสถานศึกษา หรือมีแต่ไม่อาจปฏิบัติราชการได้ ให้ผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาแต่งตั้งข้าราชการในสถานศึกษาคนใด คนหนึ่งเป็นผู้รักษาราชการแทนก็ได้
******************************************************************************
ตัวอย่าง
ผู้บริหารไม่อยู่ ไปราชการต่างจังหวัดจะมอบหมายรองผู้อำนวยการตามข้อใดจึงจะถูกต้อง
ตอบ รักษาราชการแทน
โรงเรียนมาตรฐานสากล
โรงเรียนมาตรฐานสากล ( World class standard school)
หมายถึง โรงเรียนที่จัดการเรียนการสอนมุ่งให้ผู้เรียนมีคุณลักษณะพึงประสงค์ (Learner Profile) เทียบเคียงมาตรฐานสากล (World class standard) ผู้เรียนมีศักยภาพ เป็นพลโลก (World citizen)เพื่อพัฒนายกระดับคุณภาพจัดการเรียนการสอนและการจัดการด้วยระบบคุณภาพ
เพื่อให้ผู้เรียนมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียนเป็นมาตรฐานสากล
โรงเรียนมาตรฐานสากลมีวัตถุประสงค์ที่สำคัญคือการพัฒนาผู้เรียนให้มีศักยภาพเป็นพลโลก
การเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21 Academic Achievements
Effective Communicationสื่อสารมีประสิทธิผล
Digital-Age Literacy รู้ภาษายุคดิจิตัล
Inventive Thinkingการคิดประดิษฐ์ –สร้าง
High Productivity มีผลิตภาพสูง
คุณภาพผู้เรียน โรงเรียนมาตรฐานสากล
1. เป็นเลิศวิชาการ
2. สื่อสาร 2 ภาษา
3. ล้ำหน้าความคิด
4. ผลิตงานอย่าง สร้างสรรค์
5. ร่วมกันรับผิดชอบต่อ สังคมโลก
มีความเป็นเลิศทางวิชาการ(Smart) มีความรู้พื้นฐานทางด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ เทคโนโลยี มีผลการเรียนดีเป็นที่ยอมรับในระดับนานาชาติ สามารถศึกษาต่อในระดับสูง ระดับอุดมศึกษาได้ทั้งในประเทศและต่างประเทศ
สื่อสารสองภาษา(Communication) มีทักษะการสื่อสารทางภาษาได้ดีทั้งภาษาไทย ภาษาอังกฤษ และภาษาต่างประเทศอื่นๆ เป็นที่ยอมรับจากสถาบันทางภาษา
ล้ำหน้าทางความคิด(Thinker) มีความใฝ่รู้ สร้างสรรค์ กล้าเผชิญความเสี่ยง คิดได้ในระดับสูง มีเหตุผลรู้จักคิดวิเคราะห์ วิจารณ์ สังเคราะห์ และประเมินค่าได้ดี ตลอดจนแก้ปัญหา จัดการกับความซับซ้อนได้
ผลิตผลงานอย่างสร้างสรรค์(Innovatior) สามารถจัดลำดับความสำคัญ วางแผนและบริหารจัดการสู่ความสำเร็จ สามารถใช้เทคโนโลยีในการเรียนรู้ ได้อย่างกว้างขวาง สามารถผลิตผลงานที่เหมาะสมมีคุณภาพสูง
ร่วมกันรับผิดชอบต่อสังคมโลก(Global Citizenship)มีความตระหนักรู้สถานการณ์โลก สามารถเรียนรู้และจัดการความซับซ้อน มีความรู้ความเข้าใจวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียม ประเพณีของไทยและของนานาชาติ
สมรรถนะส่งเสริมคุณภาพผู้เรียน โรงเรียนมาตรฐานสากล
ใช้เทคโนโลยีเป็น
สื่อสารเป็น
คิดเป็น
แก้ปัญหาเป็น
ใช้ทักษะชีวิต
สาระสากล (เก่า)
- TOK (Theory of Knowledge) - EE (Extended – Essay)
- CAS (Creativity,Action,Service) - GE (Global Education)
- ภาษาอังกฤษ - ภาษาต่างประเทศที่ 2
สาระสากล (ใหม่)
IS 1
IS 2
IS 3
คลิกดูเพิ่มเติมที่ http://www.worldclassschoolthai.net/xeksar/mathymsuksa-yukh-him-su-matrthan-sakl-2561
หมายถึง โรงเรียนที่จัดการเรียนการสอนมุ่งให้ผู้เรียนมีคุณลักษณะพึงประสงค์ (Learner Profile) เทียบเคียงมาตรฐานสากล (World class standard) ผู้เรียนมีศักยภาพ เป็นพลโลก (World citizen)เพื่อพัฒนายกระดับคุณภาพจัดการเรียนการสอนและการจัดการด้วยระบบคุณภาพ
เพื่อให้ผู้เรียนมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียนเป็นมาตรฐานสากล
โรงเรียนมาตรฐานสากลมีวัตถุประสงค์ที่สำคัญคือการพัฒนาผู้เรียนให้มีศักยภาพเป็นพลโลก
การเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21 Academic Achievements
Effective Communicationสื่อสารมีประสิทธิผล
Digital-Age Literacy รู้ภาษายุคดิจิตัล
Inventive Thinkingการคิดประดิษฐ์ –สร้าง
High Productivity มีผลิตภาพสูง
คุณภาพผู้เรียน โรงเรียนมาตรฐานสากล
1. เป็นเลิศวิชาการ
2. สื่อสาร 2 ภาษา
3. ล้ำหน้าความคิด
4. ผลิตงานอย่าง สร้างสรรค์
5. ร่วมกันรับผิดชอบต่อ สังคมโลก
มีความเป็นเลิศทางวิชาการ(Smart) มีความรู้พื้นฐานทางด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ เทคโนโลยี มีผลการเรียนดีเป็นที่ยอมรับในระดับนานาชาติ สามารถศึกษาต่อในระดับสูง ระดับอุดมศึกษาได้ทั้งในประเทศและต่างประเทศ
สื่อสารสองภาษา(Communication) มีทักษะการสื่อสารทางภาษาได้ดีทั้งภาษาไทย ภาษาอังกฤษ และภาษาต่างประเทศอื่นๆ เป็นที่ยอมรับจากสถาบันทางภาษา
ล้ำหน้าทางความคิด(Thinker) มีความใฝ่รู้ สร้างสรรค์ กล้าเผชิญความเสี่ยง คิดได้ในระดับสูง มีเหตุผลรู้จักคิดวิเคราะห์ วิจารณ์ สังเคราะห์ และประเมินค่าได้ดี ตลอดจนแก้ปัญหา จัดการกับความซับซ้อนได้
ผลิตผลงานอย่างสร้างสรรค์(Innovatior) สามารถจัดลำดับความสำคัญ วางแผนและบริหารจัดการสู่ความสำเร็จ สามารถใช้เทคโนโลยีในการเรียนรู้ ได้อย่างกว้างขวาง สามารถผลิตผลงานที่เหมาะสมมีคุณภาพสูง
ร่วมกันรับผิดชอบต่อสังคมโลก(Global Citizenship)มีความตระหนักรู้สถานการณ์โลก สามารถเรียนรู้และจัดการความซับซ้อน มีความรู้ความเข้าใจวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียม ประเพณีของไทยและของนานาชาติ
สมรรถนะส่งเสริมคุณภาพผู้เรียน โรงเรียนมาตรฐานสากล
ใช้เทคโนโลยีเป็น
สื่อสารเป็น
คิดเป็น
แก้ปัญหาเป็น
ใช้ทักษะชีวิต
สาระสากล (เก่า)
- TOK (Theory of Knowledge) - EE (Extended – Essay)
- CAS (Creativity,Action,Service) - GE (Global Education)
- ภาษาอังกฤษ - ภาษาต่างประเทศที่ 2
สาระสากล (ใหม่)
IS 1
IS 2
IS 3
คลิกดูเพิ่มเติมที่ http://www.worldclassschoolthai.net/xeksar/mathymsuksa-yukh-him-su-matrthan-sakl-2561
จุดเน้นในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน
กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศจุดเน้นในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนออกเป็น 5 ระยะดังนี้ คือ
ระยะที่ 1 เริ่มต้นวิเคราะห์ ภาคเรียนที่ 2 /2553 ทุกสถานศึกษาจะต้องมีผลการดำเนินงานครบ 6 ตัวชี้วัดคือ
1. มีข้อมูลผู้เรียนรายบุคคล ครบถ้วน พร้อมใช้
2. มีแผนพัฒนาผู้เรียนตามจุดเน้นที่ชัดเจน ปฏิบัติได้
3. มีฐานข้อมูลแหล่งเรียนรู้ทั้งในและนอกห้องเรียนเพียงพอ
4. มีตารางเรียนที่ยืดหยุ่นตามจุดเน้น
5. มีกิจกรรมการเรียนรู้ทั้งในและนอกห้องเรียน สัดส่วนเวลาเรียน 70:30
6. มีเครื่องมือวัดและประเมินผลที่หลากหลาย ครอบคลุมตามจุดเน้น
ระยะที่ 2 บ่มเพาะประสบการณ์ ภาคเรียนที่ 1/2554 ทุกสถานศึกษาจะต้องมี ผลการดำเนินงานครบ6 ตัวชี้วัดคือ
1. ผู้เรียนได้สำรวจ สืบค้น ทำโครงงาน โครงการ จากแหล่งเรียนรู้ทั้งในและนอกห้องเรียน
2. ครูใช้ แหล่งเรียนรู้ทั้งในและนอกห้องเรียนอย่างคุ้มค่า
3. บรรยากาศเอื้อต่อการเรียนรู้ทั้งในและนอกห้องเรียน
4. ชุมชนเข้าใจ ร่วมมือ สนับสนุนกิจกรรมการเรียนรู้
5. ครูพัฒนากระบวนการจัดการเรียนรู้/สื่อ อย่างมีประสิทธิภาพ
6. มีการนำผลการพัฒนาผู้เรียน ตามจุดเน้นมาแลกเปลี่ยนเรียนรู้
ระยะที่ 3 สานต่อองค์ความรู้ ภาคเรียนที่ 2/2554 ทุกสถานศึกษาจะต้องมีผลการดำเนินงานครบ4 ตัวชี้วัดคือ
1. มีการนำผลการแลกเปลี่ยนเรียนรู้มาใช้ในการปรับปรุงกิจกรรมการพัฒนาผู้เรียน
2. มีผลการวิจัยและพัฒนาคุณภาพผู้เรียนอย่างต่อเนื่อง
3. มีรายงานผลความก้าวหน้าในการพัฒนาผู้เรียน
4. มีการสร้างเครือข่าย / แลกเปลี่ยนเรียนรู้
ระยะที่ 4 นำสู่วิถีคุณภาพ ภาคเรียนที่ 1/2555 ทุกสถานศึกษาจะต้องมีผลการดำเนินงานครบ4 ตัวชี้วัดคือ
1. มีนวัตกรรมการบริหารเพื่อพัฒนาผู้เรียนตามจุดเน้น
2. มีนวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ตามจุดเน้น
3. มีเครื่องมือวัด /ประเมินผลการพัฒนาผู้เรียนที่มีคุณภาพ
4. มีการเผยแพร่การวิจัยและผลการพัฒนาผู้เรียน
ระยะที่ 5 มีวัฒนธรรมการเรียนรู้ใหม่ ภาคเรียนที่ 2 /2555 ทุกสถานศึกษาจะต้องมีผลการดำเนินงานครบ 6 ตัวชี้วัดคือ
1. ผู้เรียนเรียนรู้อย่างมีความสุข มีทักษะ ความสามารถและคุณลักษณะตามจุดเน้น
2. มีวัฒนธรรมการเรียนรู้ใหม่
3. ครูเป็นครูมืออาชีพ
4. โรงเรียนมีการจัดการความรู้
5. มีเครือข่ายร่วมพัฒนาที่เข้มแข็ง
6. สาธารณชนยอมรับ และมีความพึงพอใจ
จุดเน้นการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนมีดังนี้
1. ชั้น ป.1-3 คุณลักษณะที่ต้องการเน้นคือการใฝ่ดี ผู้เรียนจะต้องอ่านออก เขียนได้ คิดเลขเป็น ทักษะการคิดขั้นพื้นฐาน ทักษะชีวิต การสื่อสารอย่างสร้างสรรค์
2. ชั้น ป.4-6 คุณลักษณะที่ต้องการเน้นคือ ใฝ่เรียนรู้ ผู้เรียนจะต้องอ่านคล่อง เขียนคล่อง คิดเลขคล่อง ทักษะการคิดขั้นพื้นฐาน ทักษะชีวิต การสื่อสารอย่างสร้างสรรค์
3. ชั้น ม.1-3 คุณลักษณะที่ต้องการเน้นคืออยู่อย่างพอเพียง ผู้เรียนจะต้องสามารถใช้ทักษะการคิดขั้นสูง ทักษะชีวิต การแก้ปัญหา การใช้เทคโนโลยี รักการเรียนรู้ แสวงหาความรู้ด้วยตนเอง การสื่อสารอย่างสร้างสรรค์
4. ชั้น ม.4-6 คุณลักษณะที่ต้องการเน้นคือ มีความมุ่งมั่น ผู้เรียนจะต้องสามารถใช้ทักษะการคิดขั้นสูง ทักษะชีวิต การแก้ปัญหา การใช้เทคโนโลยี รักการเรียนรู้ แสวงหาความรู้ด้วยตนเอง ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) การสื่อสารอย่างสร้างสรรค์
การกำหนดระยะเวลาในการ พัฒนาคุณภาพผู้เรียนที่ชัดเจนอย่างนี้ทุกระยะ 6 เดือน ภาระงานของครูจะต้องเข้มข้นขึ้น ผู้ที่ยังยึดระบบเช้าชามเย็นชามคงจะต้องปรับระบบการทำงาน ปรับกระบวนการจัดการเรียนการสอนให้ผู้เรียนเกิดวัฒนธรรมการเรียนรู้ใหม่ให้ จงได้ภายในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2555
แหล่งอ้างอิง http://www.moe.go.th/websm/2010/oct/364.html
ย่อสรุป
กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศจุดเน้นในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนออกเป็น 5 ระยะดังนี้ คือ
ระยะที่ 1 เริ่มต้นวิเคราะห์ ภาคเรียนที่ 2 /2553
รายบุคคล/แผน/ข้อมูลแหล่ง/ตารางเรียน/กิจกรรม/เครื่องมือวัด
ระยะที่ 2 บ่มเพาะประสบการณ์ ภาคเรียนที่ 1/2554
สำรวจสืบค้น/ใช้แหล่งเรียนรู้/ชุมชนเข้าใจ/ครูพัฒนา/แลกเปลี่ยน
ระยะที่ 3 สานต่อองค์ความรู้ ภาคเรียนที่ 2/2554
แลกเปลี่ยน/วิจัย/รายงาน/เครือข่าย
ระยะที่ 4 นำสู่วิถีคุณภาพ ภาคเรียนที่ 1/2555
นวัตบริหาร/นวัตเรียนรู้/วัดประเมิน/เผยแพร่วิจัย
ระยะที่ 5 มีวัฒนธรรมการเรียนรู้ใหม่ ภาคเรียนที่ 2 /2555
นร.สุข/เรียนรู้ใหม่/ครูอาชีพ/โรงเรียนจัดการ/เครือข่ายพัฒนา/ยอมรับ
66446
จุดเน้นการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนมีดังนี้
1. ชั้น ป.1-3 ใฝ่ดี อ่านออก เขียนได้ คิดเลขเป็น สร้างสรรค์
2. ชั้น ป.4-6 ใฝ่เรียนรู้อ่านคล่อง เขียนคล่อง คิดเลขคล่อง
3. ชั้น ม.1-3 อยู่อย่างพอเพียง
4. ชั้น ม.4-6 มีความมุ่งมั่น
ระยะที่ 1 เริ่มต้นวิเคราะห์ ภาคเรียนที่ 2 /2553 ทุกสถานศึกษาจะต้องมีผลการดำเนินงานครบ 6 ตัวชี้วัดคือ
1. มีข้อมูลผู้เรียนรายบุคคล ครบถ้วน พร้อมใช้
2. มีแผนพัฒนาผู้เรียนตามจุดเน้นที่ชัดเจน ปฏิบัติได้
3. มีฐานข้อมูลแหล่งเรียนรู้ทั้งในและนอกห้องเรียนเพียงพอ
4. มีตารางเรียนที่ยืดหยุ่นตามจุดเน้น
5. มีกิจกรรมการเรียนรู้ทั้งในและนอกห้องเรียน สัดส่วนเวลาเรียน 70:30
6. มีเครื่องมือวัดและประเมินผลที่หลากหลาย ครอบคลุมตามจุดเน้น
ระยะที่ 2 บ่มเพาะประสบการณ์ ภาคเรียนที่ 1/2554 ทุกสถานศึกษาจะต้องมี ผลการดำเนินงานครบ6 ตัวชี้วัดคือ
1. ผู้เรียนได้สำรวจ สืบค้น ทำโครงงาน โครงการ จากแหล่งเรียนรู้ทั้งในและนอกห้องเรียน
2. ครูใช้ แหล่งเรียนรู้ทั้งในและนอกห้องเรียนอย่างคุ้มค่า
3. บรรยากาศเอื้อต่อการเรียนรู้ทั้งในและนอกห้องเรียน
4. ชุมชนเข้าใจ ร่วมมือ สนับสนุนกิจกรรมการเรียนรู้
5. ครูพัฒนากระบวนการจัดการเรียนรู้/สื่อ อย่างมีประสิทธิภาพ
6. มีการนำผลการพัฒนาผู้เรียน ตามจุดเน้นมาแลกเปลี่ยนเรียนรู้
ระยะที่ 3 สานต่อองค์ความรู้ ภาคเรียนที่ 2/2554 ทุกสถานศึกษาจะต้องมีผลการดำเนินงานครบ4 ตัวชี้วัดคือ
1. มีการนำผลการแลกเปลี่ยนเรียนรู้มาใช้ในการปรับปรุงกิจกรรมการพัฒนาผู้เรียน
2. มีผลการวิจัยและพัฒนาคุณภาพผู้เรียนอย่างต่อเนื่อง
3. มีรายงานผลความก้าวหน้าในการพัฒนาผู้เรียน
4. มีการสร้างเครือข่าย / แลกเปลี่ยนเรียนรู้
ระยะที่ 4 นำสู่วิถีคุณภาพ ภาคเรียนที่ 1/2555 ทุกสถานศึกษาจะต้องมีผลการดำเนินงานครบ4 ตัวชี้วัดคือ
1. มีนวัตกรรมการบริหารเพื่อพัฒนาผู้เรียนตามจุดเน้น
2. มีนวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ตามจุดเน้น
3. มีเครื่องมือวัด /ประเมินผลการพัฒนาผู้เรียนที่มีคุณภาพ
4. มีการเผยแพร่การวิจัยและผลการพัฒนาผู้เรียน
ระยะที่ 5 มีวัฒนธรรมการเรียนรู้ใหม่ ภาคเรียนที่ 2 /2555 ทุกสถานศึกษาจะต้องมีผลการดำเนินงานครบ 6 ตัวชี้วัดคือ
1. ผู้เรียนเรียนรู้อย่างมีความสุข มีทักษะ ความสามารถและคุณลักษณะตามจุดเน้น
2. มีวัฒนธรรมการเรียนรู้ใหม่
3. ครูเป็นครูมืออาชีพ
4. โรงเรียนมีการจัดการความรู้
5. มีเครือข่ายร่วมพัฒนาที่เข้มแข็ง
6. สาธารณชนยอมรับ และมีความพึงพอใจ
จุดเน้นการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนมีดังนี้
1. ชั้น ป.1-3 คุณลักษณะที่ต้องการเน้นคือการใฝ่ดี ผู้เรียนจะต้องอ่านออก เขียนได้ คิดเลขเป็น ทักษะการคิดขั้นพื้นฐาน ทักษะชีวิต การสื่อสารอย่างสร้างสรรค์
2. ชั้น ป.4-6 คุณลักษณะที่ต้องการเน้นคือ ใฝ่เรียนรู้ ผู้เรียนจะต้องอ่านคล่อง เขียนคล่อง คิดเลขคล่อง ทักษะการคิดขั้นพื้นฐาน ทักษะชีวิต การสื่อสารอย่างสร้างสรรค์
3. ชั้น ม.1-3 คุณลักษณะที่ต้องการเน้นคืออยู่อย่างพอเพียง ผู้เรียนจะต้องสามารถใช้ทักษะการคิดขั้นสูง ทักษะชีวิต การแก้ปัญหา การใช้เทคโนโลยี รักการเรียนรู้ แสวงหาความรู้ด้วยตนเอง การสื่อสารอย่างสร้างสรรค์
4. ชั้น ม.4-6 คุณลักษณะที่ต้องการเน้นคือ มีความมุ่งมั่น ผู้เรียนจะต้องสามารถใช้ทักษะการคิดขั้นสูง ทักษะชีวิต การแก้ปัญหา การใช้เทคโนโลยี รักการเรียนรู้ แสวงหาความรู้ด้วยตนเอง ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) การสื่อสารอย่างสร้างสรรค์
การกำหนดระยะเวลาในการ พัฒนาคุณภาพผู้เรียนที่ชัดเจนอย่างนี้ทุกระยะ 6 เดือน ภาระงานของครูจะต้องเข้มข้นขึ้น ผู้ที่ยังยึดระบบเช้าชามเย็นชามคงจะต้องปรับระบบการทำงาน ปรับกระบวนการจัดการเรียนการสอนให้ผู้เรียนเกิดวัฒนธรรมการเรียนรู้ใหม่ให้ จงได้ภายในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2555
แหล่งอ้างอิง http://www.moe.go.th/websm/2010/oct/364.html
ย่อสรุป
กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศจุดเน้นในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนออกเป็น 5 ระยะดังนี้ คือ
ระยะที่ 1 เริ่มต้นวิเคราะห์ ภาคเรียนที่ 2 /2553
รายบุคคล/แผน/ข้อมูลแหล่ง/ตารางเรียน/กิจกรรม/เครื่องมือวัด
ระยะที่ 2 บ่มเพาะประสบการณ์ ภาคเรียนที่ 1/2554
สำรวจสืบค้น/ใช้แหล่งเรียนรู้/ชุมชนเข้าใจ/ครูพัฒนา/แลกเปลี่ยน
ระยะที่ 3 สานต่อองค์ความรู้ ภาคเรียนที่ 2/2554
แลกเปลี่ยน/วิจัย/รายงาน/เครือข่าย
ระยะที่ 4 นำสู่วิถีคุณภาพ ภาคเรียนที่ 1/2555
นวัตบริหาร/นวัตเรียนรู้/วัดประเมิน/เผยแพร่วิจัย
ระยะที่ 5 มีวัฒนธรรมการเรียนรู้ใหม่ ภาคเรียนที่ 2 /2555
นร.สุข/เรียนรู้ใหม่/ครูอาชีพ/โรงเรียนจัดการ/เครือข่ายพัฒนา/ยอมรับ
66446
จุดเน้นการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนมีดังนี้
1. ชั้น ป.1-3 ใฝ่ดี อ่านออก เขียนได้ คิดเลขเป็น สร้างสรรค์
2. ชั้น ป.4-6 ใฝ่เรียนรู้อ่านคล่อง เขียนคล่อง คิดเลขคล่อง
3. ชั้น ม.1-3 อยู่อย่างพอเพียง
4. ชั้น ม.4-6 มีความมุ่งมั่น
สอบผู้บริหาร 2555
กองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษาที่ผูก กับรายได้ในอนาคต (กรอ.)
- เงินกู้ กรอ.ซึ่งจะมาแทนเงิน กู้ กยศ. และเริ่มปล่อยกู้ตั้งแต่ 2555 นั้น จะไม่มีการจำกัดสาขาวิชาปล่อยกู้ ไม่เหมือนกับเงินกู้ กยศ. ที่ปล่อยกู้เฉพาะสาขาขาดแคลน
- สำหรับการปล่อยกู้ กรอ.จะปล่อยกู้เฉพาะระดับอุดมศึก
- รายการเงินกู้ กรอ. ตอบ ค่าเล่าเรียน ค่าครองชีพ และค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวข้อง (ครอบครัวมีรายได้ไม่เกิน ๒๐๐,๐๐ บาทต่อปี ก็จะให้ค่าครองชีพ)
กรอ.เป็นการให้ทุนการศึกษา ชำระคืนภายหลังมีงานทำและมีรายได้ (ตอบ) 16,000 บาท
************************************************
5 ฟรี เรียนดีอย่างมีคุณภาพ ตั้งแต่อนุบาลจนจบ ม.๖
(ฟรี ค่าเล่าเรียน ฟรี ค่าเครื่องแบบ ฟรี ค่าอุปกรณ์การเรียน ฟรี ค่าหนังสือเรียน ฟรี ค่ากิจกรรม)
************************************************
การออกจากราชการ (มาตรา 197)
1. ตาย
2. พ้นจากตำแหน่งตามกฎหมายว่าด้วยบำเหน็จบำนาญ
3. ลาออกและได้รับอนุญาตให้ลาออก
4. ถูกสั่งให้ออกจากราชการ
5. ถูกสั่งลงโทษปลดออก หรือ ไล่ออก
6. ถูกเพิกถอนใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ เว้นแต่ได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งอื่นที่ไม่ต้องมีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ
*************************************************
Fix-it Center ศูนย์ซ่อมสร้างประจำชุมชน เพื่อฝึกฝนทักษะอาชีพให้นักเรียนอาชีวศึกษาและให้บริการประชาชน
*************************************************
มาสคอต ก๊ฬาโอลิมปิก และ พาราลิมปิก 2012 (ตอบ) เวนล็อค และ แมนเดวิลล์
************************************************
สัดส่วนการบรรจุครูทุกประเภทในอนาคต
(ตอบ) ครูมืออาชีพและทุนอื่นๆ 35 % ครูอัตราจ้างที่รอบรรจุ 25 % และครูทั่วไป 40 %
***************************************************
กยศ. ใช้กับการศึกษาระดับใด กี่รายการ (ตอบ) ม.4-5-6 และ ปวช. ใช้กับ ค่าเล่าเรียนและค่าเครื่องอุปกรณ์การเรียน
***************************************************
สายด่วนกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี (ตอบ) 1111 กด 6
***************************************
ชื่อโครงการที่ ครม.อนุมัติ ให้ ศพส.จัดเฉลิมพระชนมพรรษาพระราชินี 80 พรรษาปี 255
(ตอบ) "โครงการหมู่บ้านกองทุนแม่ของแผ่นดินเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา มหาราชินี"
*****************************************
คุณสมบัติ 1 อำเภอ 1 ทุน (ตอบ) สัญชาติไทย อายุไม่เกิน 25 ปี จบ ม.6/เทียบเท่า เกรดเฉลี่ย 3.0 ขึ้น มีภูมิลำเนาตามทะเบียนราษฎร์ ไม่น้อยกว่า 6 เดือน
******************************************
1. ค่าขึ้นทะเบียนรับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพครู ฉบับละ 500 บาท
2. ค่าขึ้นทะเบียนรับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพผู้บริหารสถานศึกษา ฉบับละ 500 บาท
3. ค่าขึ้นทะเบียนรับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพผู้บริหารการศึกษา ฉบับละ 500 บาท
4. ค่าขึ้นทะเบียนรับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพควบคุมอื่น ฉบับละ 500 บาท
5. ค่าต่อใบอนุญาตประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ครั้งละ 200 บาท
6. ค่าหนังสือรับรองการขึ้นทะเบียนผู้ประกอบวิชาชีพ ฉบับละ 300 บาท
7. ค่าหนังสืออนุมัติหรือวุฒิบัตรแสดงความรู้ ความชำนาญ ฉบับละ 400 บาท
8. ค่าใบแทนใบอนุญาต ฉบับละ 200 บาท
ย่อ ขึ้น 5 ต่อ 2 รอง 3 บัตร 4 แทน 2
***************************************
อาเซียน มี 10ประเทศได้แก่
ไทย ลาว พม่า เวียดนาม มาเลเซีย สิงคโปร์ อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ บรูไน กัมพูชา
รวงข้าวมัดรวมกัน หมายถึง 10ประเทศรวมเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน (ติมอร์ กำลังจะเข้าร่วม)
สีของตราสัญลักษณ์
น้ำเงิน หมายถึง ความสามัคคี
แดง " ความกล้าหาญ
ขาว " ความบริสุทธิ์
เหลือง " ความเจริญรุ่งเรือง
****************************************
การคำนวณเกณฑ์อัตรากำลังครู ในโรงเรียน
20 คนลงมา = ครู 1 แล้วก็นับเพิ่มทีละ 20 ไปเรื่อยๆจนถึง 120 เพราะรร.ขนาดเล็ก นร.ไม่เกิน 120 คนค่ะ
20 = 1 / 40 = 2 / 60 = 3 / 80 = 4 / 100 = 5 / 120 = 6
การคิดจำนวนครูให้ปัดเศษตามหลักคณิตศาสตร์
ครู 1 ต่อนักเรียน = ก่อน 25 / ถม 25 / ยม 20
แถมการคิดจำนวนห้องเรียนให้ด้วย
1 ห้อง ต่อนักเรียน = ก่อน 30 / ถม 40 / ยม 40
**เศษ 10 เพิ่มเป็น 1 ห้อง
**************************************
ขนาดโรงเรียน
โรงเรียนที่มีนักเรียนตั้งแต่ 1 - 499 คน (ขนาดเล็ก)
โรงเรียนที่มีนักเรียนตั้งแต่ 500 - 1499 คน (ขนาดกลาง)
โรงเรียนที่มีนักเรียนตั้งแต่ 1500 - 2499 คน (ขนาดใหญ่)
โรงเรียนที่มีนักเรียนตั้งแต่ 2,500คน (ขนาดใหญ่พิเศษ)
****************************************
เงินเดือน ต่ำสุด สูงสุด
เงินเดือนขั้นต่ำ ครูผู้ช่วย 9140 สูงสุด 17690 มี 14 ขั้น
เงินเดือนขั้นต่ำ ครูคศ.1 12530 สูงสุด 31190 มี 21 ขั้น
เงินเดือนขั้นต่ำ ครูคศ.2 16190 สูงสุด 37830 มี 20 ขั้น
เงินเดือนขั้นต่ำ ครูคศ.3 19,860 สูงสุด 53,080 มี 24 ขั้น
เงินเดือนขั้นต่ำ ครูคศ.4 24,400 สูงสุด 62,760 มี 23 ขั้น
เงินเดือนขั้นต่ำ ครูคศ.5 29,980 สูงสุด 69,810 มี 19 ขั้น
- เงินกู้ กรอ.ซึ่งจะมาแทนเงิน กู้ กยศ. และเริ่มปล่อยกู้ตั้งแต่ 2555 นั้น จะไม่มีการจำกัดสาขาวิชาปล่อยกู้ ไม่เหมือนกับเงินกู้ กยศ. ที่ปล่อยกู้เฉพาะสาขาขาดแคลน
- สำหรับการปล่อยกู้ กรอ.จะปล่อยกู้เฉพาะระดับอุดมศึก
- รายการเงินกู้ กรอ. ตอบ ค่าเล่าเรียน ค่าครองชีพ และค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวข้อง (ครอบครัวมีรายได้ไม่เกิน ๒๐๐,๐๐ บาทต่อปี ก็จะให้ค่าครองชีพ)
กรอ.เป็นการให้ทุนการศึกษา ชำระคืนภายหลังมีงานทำและมีรายได้ (ตอบ) 16,000 บาท
************************************************
5 ฟรี เรียนดีอย่างมีคุณภาพ ตั้งแต่อนุบาลจนจบ ม.๖
(ฟรี ค่าเล่าเรียน ฟรี ค่าเครื่องแบบ ฟรี ค่าอุปกรณ์การเรียน ฟรี ค่าหนังสือเรียน ฟรี ค่ากิจกรรม)
************************************************
การออกจากราชการ (มาตรา 197)
1. ตาย
2. พ้นจากตำแหน่งตามกฎหมายว่าด้วยบำเหน็จบำนาญ
3. ลาออกและได้รับอนุญาตให้ลาออก
4. ถูกสั่งให้ออกจากราชการ
5. ถูกสั่งลงโทษปลดออก หรือ ไล่ออก
6. ถูกเพิกถอนใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ เว้นแต่ได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งอื่นที่ไม่ต้องมีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ
*************************************************
Fix-it Center ศูนย์ซ่อมสร้างประจำชุมชน เพื่อฝึกฝนทักษะอาชีพให้นักเรียนอาชีวศึกษาและให้บริการประชาชน
*************************************************
มาสคอต ก๊ฬาโอลิมปิก และ พาราลิมปิก 2012 (ตอบ) เวนล็อค และ แมนเดวิลล์
************************************************
สัดส่วนการบรรจุครูทุกประเภทในอนาคต
(ตอบ) ครูมืออาชีพและทุนอื่นๆ 35 % ครูอัตราจ้างที่รอบรรจุ 25 % และครูทั่วไป 40 %
***************************************************
กยศ. ใช้กับการศึกษาระดับใด กี่รายการ (ตอบ) ม.4-5-6 และ ปวช. ใช้กับ ค่าเล่าเรียนและค่าเครื่องอุปกรณ์การเรียน
***************************************************
สายด่วนกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี (ตอบ) 1111 กด 6
***************************************
ชื่อโครงการที่ ครม.อนุมัติ ให้ ศพส.จัดเฉลิมพระชนมพรรษาพระราชินี 80 พรรษาปี 255
(ตอบ) "โครงการหมู่บ้านกองทุนแม่ของแผ่นดินเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา มหาราชินี"
*****************************************
คุณสมบัติ 1 อำเภอ 1 ทุน (ตอบ) สัญชาติไทย อายุไม่เกิน 25 ปี จบ ม.6/เทียบเท่า เกรดเฉลี่ย 3.0 ขึ้น มีภูมิลำเนาตามทะเบียนราษฎร์ ไม่น้อยกว่า 6 เดือน
******************************************
1. ค่าขึ้นทะเบียนรับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพครู ฉบับละ 500 บาท
2. ค่าขึ้นทะเบียนรับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพผู้บริหารสถานศึกษา ฉบับละ 500 บาท
3. ค่าขึ้นทะเบียนรับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพผู้บริหารการศึกษา ฉบับละ 500 บาท
4. ค่าขึ้นทะเบียนรับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพควบคุมอื่น ฉบับละ 500 บาท
5. ค่าต่อใบอนุญาตประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ครั้งละ 200 บาท
6. ค่าหนังสือรับรองการขึ้นทะเบียนผู้ประกอบวิชาชีพ ฉบับละ 300 บาท
7. ค่าหนังสืออนุมัติหรือวุฒิบัตรแสดงความรู้ ความชำนาญ ฉบับละ 400 บาท
8. ค่าใบแทนใบอนุญาต ฉบับละ 200 บาท
ย่อ ขึ้น 5 ต่อ 2 รอง 3 บัตร 4 แทน 2
***************************************
อาเซียน มี 10ประเทศได้แก่
ไทย ลาว พม่า เวียดนาม มาเลเซีย สิงคโปร์ อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ บรูไน กัมพูชา
รวงข้าวมัดรวมกัน หมายถึง 10ประเทศรวมเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน (ติมอร์ กำลังจะเข้าร่วม)
สีของตราสัญลักษณ์
น้ำเงิน หมายถึง ความสามัคคี
แดง " ความกล้าหาญ
ขาว " ความบริสุทธิ์
เหลือง " ความเจริญรุ่งเรือง
****************************************
การคำนวณเกณฑ์อัตรากำลังครู ในโรงเรียน
20 คนลงมา = ครู 1 แล้วก็นับเพิ่มทีละ 20 ไปเรื่อยๆจนถึง 120 เพราะรร.ขนาดเล็ก นร.ไม่เกิน 120 คนค่ะ
20 = 1 / 40 = 2 / 60 = 3 / 80 = 4 / 100 = 5 / 120 = 6
การคิดจำนวนครูให้ปัดเศษตามหลักคณิตศาสตร์
ครู 1 ต่อนักเรียน = ก่อน 25 / ถม 25 / ยม 20
แถมการคิดจำนวนห้องเรียนให้ด้วย
1 ห้อง ต่อนักเรียน = ก่อน 30 / ถม 40 / ยม 40
**เศษ 10 เพิ่มเป็น 1 ห้อง
**************************************
ขนาดโรงเรียน
โรงเรียนที่มีนักเรียนตั้งแต่ 1 - 499 คน (ขนาดเล็ก)
โรงเรียนที่มีนักเรียนตั้งแต่ 500 - 1499 คน (ขนาดกลาง)
โรงเรียนที่มีนักเรียนตั้งแต่ 1500 - 2499 คน (ขนาดใหญ่)
โรงเรียนที่มีนักเรียนตั้งแต่ 2,500คน (ขนาดใหญ่พิเศษ)
****************************************
เงินเดือน ต่ำสุด สูงสุด
เงินเดือนขั้นต่ำ ครูผู้ช่วย 9140 สูงสุด 17690 มี 14 ขั้น
เงินเดือนขั้นต่ำ ครูคศ.1 12530 สูงสุด 31190 มี 21 ขั้น
เงินเดือนขั้นต่ำ ครูคศ.2 16190 สูงสุด 37830 มี 20 ขั้น
เงินเดือนขั้นต่ำ ครูคศ.3 19,860 สูงสุด 53,080 มี 24 ขั้น
เงินเดือนขั้นต่ำ ครูคศ.4 24,400 สูงสุด 62,760 มี 23 ขั้น
เงินเดือนขั้นต่ำ ครูคศ.5 29,980 สูงสุด 69,810 มี 19 ขั้น
โครงการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ หรือ PISA
โครงการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ หรือ PISA
(Programme for International Student Assessment)
วัตถุประสงค์ของโครงการ
1. เพื่อต้องการหาตัวชี้วัดคุณภาพการศึกษาให้แก่ประเทศสมาชิกและประเทศร่วมโครงการ PISA
2. ประเมินถึงศักยภาพในการใช้ความรู้ของนักเรียนวัยจบการศึกษาภาคบังคับ
ประเทศไทยเข้าร่วมโครงการ PISA ตั้งแต่ปี 2543 ซึ่งในกลุ่มอาเซียนมีประเทศที่เข้าร่วม 3 ประเทศคือ ไทย อินโดนีเซียและสิงคโปร์ โดยมีจุดมุ่งหมายสำคัญคือ ตรวจสอบว่าเยาวชนที่จบการศึกษาภาคบังคับ หรืออายุ 15 ปี ของประเทศต่างๆ มีศักยภาพหรือความสามารถพื้นฐาน
ที่จะเป็นต่อการดำรงชีวิตในโลกที่มีการ เปลี่ยนแปลงหรือไม่ เพื่อความร่วมมือและ
พัฒนาทางเศรษฐกิจ(Organisation for Economic Co-operation and Development หรือOECD)
มีประเทศในโครงการทั้งหมด 65 ประเทศ
การประเมินผลนักเรียนในโครงการนี้ จะดำเนินการทุกๆ 3 ปี โดยประเทศไทยเข้าร่วมโครงการ PISA มาแล้ว 4 ครั้ง
PISA ประเมินสมรรถนะที่เรียกว่า Literacy ซึ่งในที่นี้จะใช้คำว่า “การรู้เรื่อง” และ PISA เลือกประเมินการรู้เรื่องในสามด้าน ได้แก่ การรู้เรื่องการอ่าน (Reading Literacy) การรู้เรื่องคณิตศาสตร์ (Mathematical Literacy) และการรู้เรื่องวิทยาศาสตร์ (Scientific Literacy) PISA ได้แบ่งการประเมินออกเป็น 2 รอบ กล่าวคือ รอบที่ 1 (Phase I: PISA 2000 PISA 2003 และ PISA 2006) และรอบที่ 2 (Phase II: PISA 2009 PISA 2012 และ PISA 2015) ในการประเมินผลนักเรียนจะวัดความรู้ทั้ง 3 ด้าน แต่จะเน้นหนักในด้านใดด้านหนึ่งในการประเมินแต่ละระยะ กล่าวคือ
1) การประเมินผลระยะที่ 1 (PISA 2000 และ PISA 2009) เน้นด้านการอ่าน (มีน้ำหนักข้อสอบด้านการอ่าน 60% และที่เหลือเป็นด้าน คณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์อย่างละ 20%)
2) การประเมินผลระยะที่ 2 (PISA 2003 และ PISA 2012) เน้นด้านคณิตศาสตร์ (น้ำหนักข้อสอบด้านคณิตศาสตร์ 60% และด้านการอ่านและวิทยาศาสตร์อย่างละ 20%)
3) การประเมินผลระยะที่ 3 (PISA 2006 และ PISA 2015) เน้นด้านวิทยาศาสตร์ (น้ำหนักข้อสอบด้านวิทยาศาสตร์ 60% และด้านการอ่านและคณิตศาสตร์อย่างละ 20%)
ที่มา
http://sites.google.com/site/acadedmsu/khxsxb-pisa
http://pisathailand.ipst.ac.th/
(Programme for International Student Assessment)
วัตถุประสงค์ของโครงการ
1. เพื่อต้องการหาตัวชี้วัดคุณภาพการศึกษาให้แก่ประเทศสมาชิกและประเทศร่วมโครงการ PISA
2. ประเมินถึงศักยภาพในการใช้ความรู้ของนักเรียนวัยจบการศึกษาภาคบังคับ
ประเทศไทยเข้าร่วมโครงการ PISA ตั้งแต่ปี 2543 ซึ่งในกลุ่มอาเซียนมีประเทศที่เข้าร่วม 3 ประเทศคือ ไทย อินโดนีเซียและสิงคโปร์ โดยมีจุดมุ่งหมายสำคัญคือ ตรวจสอบว่าเยาวชนที่จบการศึกษาภาคบังคับ หรืออายุ 15 ปี ของประเทศต่างๆ มีศักยภาพหรือความสามารถพื้นฐาน
ที่จะเป็นต่อการดำรงชีวิตในโลกที่มีการ เปลี่ยนแปลงหรือไม่ เพื่อความร่วมมือและ
พัฒนาทางเศรษฐกิจ(Organisation for Economic Co-operation and Development หรือOECD)
มีประเทศในโครงการทั้งหมด 65 ประเทศ
การประเมินผลนักเรียนในโครงการนี้ จะดำเนินการทุกๆ 3 ปี โดยประเทศไทยเข้าร่วมโครงการ PISA มาแล้ว 4 ครั้ง
PISA ประเมินสมรรถนะที่เรียกว่า Literacy ซึ่งในที่นี้จะใช้คำว่า “การรู้เรื่อง” และ PISA เลือกประเมินการรู้เรื่องในสามด้าน ได้แก่ การรู้เรื่องการอ่าน (Reading Literacy) การรู้เรื่องคณิตศาสตร์ (Mathematical Literacy) และการรู้เรื่องวิทยาศาสตร์ (Scientific Literacy) PISA ได้แบ่งการประเมินออกเป็น 2 รอบ กล่าวคือ รอบที่ 1 (Phase I: PISA 2000 PISA 2003 และ PISA 2006) และรอบที่ 2 (Phase II: PISA 2009 PISA 2012 และ PISA 2015) ในการประเมินผลนักเรียนจะวัดความรู้ทั้ง 3 ด้าน แต่จะเน้นหนักในด้านใดด้านหนึ่งในการประเมินแต่ละระยะ กล่าวคือ
1) การประเมินผลระยะที่ 1 (PISA 2000 และ PISA 2009) เน้นด้านการอ่าน (มีน้ำหนักข้อสอบด้านการอ่าน 60% และที่เหลือเป็นด้าน คณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์อย่างละ 20%)
2) การประเมินผลระยะที่ 2 (PISA 2003 และ PISA 2012) เน้นด้านคณิตศาสตร์ (น้ำหนักข้อสอบด้านคณิตศาสตร์ 60% และด้านการอ่านและวิทยาศาสตร์อย่างละ 20%)
3) การประเมินผลระยะที่ 3 (PISA 2006 และ PISA 2015) เน้นด้านวิทยาศาสตร์ (น้ำหนักข้อสอบด้านวิทยาศาสตร์ 60% และด้านการอ่านและคณิตศาสตร์อย่างละ 20%)
ที่มา
http://sites.google.com/site/acadedmsu/khxsxb-pisa
http://pisathailand.ipst.ac.th/
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)