ระบบการบริหารทรัพยากรมนุษย์
การบริหารทรัพยากรมนุษย์แบ่งออกเป็น 2 ระบบ คือ ระบบคุณธรรม และระบบอุปถัมภ์ ดังนี้
1. ระบบคุณธรรม (merit system)
ระบบคุณธรรม เป็นวิธีการคัดเลือกบุคคลเข้าทำงาน โดยใช้การสอบรูปแบบต่างๆ เพื่อประเมินความรู้ ความสามารถของบุคคลที่มีคุณสมบัติครบตามต้องการ โดยไม่คำนึงถึงเหตุผลทางการเมืองหรือความสัมพันธ์ส่วนตัวเป็นสำคัญ
การบริหารทรัพยากรมนุษย์ตามระบบคุณธรรมยึดหลักการ 4 ประการ ได้แก่
1.1 ความเสมอภาคในโอกาส (Equality of opportunity) หมายถึง การเปิดโอกาสที่เท่าเทียมกันในการสมัครงานสำหรับผู้สมัครที่มีคุณสมบัติ ประสบการณ์ และพื้นความรู้ตามที่ระบุไว้ โดยไม่มีข้อกีดกัน อันเนื่องจากฐานะ เพศ ผิว และศาสนา กล่าวคือทุกคนที่มีคุณสมบัติตรงตามเกณฑ์จะมีสิทธิในการถูกพิจารณาเท่าเทียมกันความเสมอภาคในโอกาส จะครอบคลุมถึง
1.1.1 ความเสมอภาคในการสมัครงาน โดยเปิดโอกาสให้ผู้ที่มีคุณสมบัติและพื้นฐานความรู้ตรงตามที่กำหนดไว้ ได้สมัครและเข้าสอบแข่งขัน
1.1.2 ความเสมอภาคในเรื่องค่าตอบแทน โดยยึดหลักการที่ว่างานเท่ากัน เงินเท่ากันและมีสิทธิ์ได้รับโอกาสต่างๆ ตามที่หน่วยงานเปิดให้พนักงานทุกคน
1.1.3 ความเสมอภาคที่จะได้รับการปฏิบัติอย่างเสมอหน้ากันโดยใช้ระเบียบและมาตรฐานเดียวกันทุกเรื่อง อาทิ การบรรจุแต่งตั้ง การฝึกอบรม
1.2 หลักความสามารถ (Competence) หมายถึง การยึดถือความรู้ความสามารถเป็นเกณฑ์ในการคัดเลือกบุคคลเข้าทำงาน โดยเลือกผู้ที่มีความรู้ความสามารถให้เหมาะสมกับตำแหน่งมากที่สุดโดยจะบรรจุแต่งตั้งผู้ที่มีความเหมาะสมตามเกณฑ์มากกว่า เพื่อให้ได้คนที่เหมาะกับงานจริงๆ (Put the right man to the right job) หากจะมีการแต่งตั้งพนักงานระดับผู้บริหาร ก็จะพิจารณาจากผลการปฏิบัติงานขีดความสามารถหรือศักยภาพของการบริหารงานในอนาคต
1.3 หลักความมั่นคงในอาชีพการงาน (Security on tenure) หมายถึง หลักประกันการปฏิบัติงานที่องค์การให้แก่บุคลากรว่าจะได้รับการคุ้มครอง จะไม่ถูกกลั่นแกล้งหรือถูกให้ออกจากงานโดยปราศจากความผิด ไม่ว่าจะโดยเหตุผลส่วนตัวหรือทางการเมือง ช่วยให้ผู้ปฏิบัติงานรู้สึกมั่นคงในหน้าที่
หลักการที่ผู้บริหารใช้ในเรื่องของความมั่นคงในอาชีพการงาน คือ
1.3.1 การดึงดูดใจ (Attraction) โดยพยายามจูงใจให้ผู้ที่มีความรู้ความสามารถให้เข้ามาร่วมงานกับองค์การ
1.3.2 การธำรงรักษา (Retention) โดยการธำรงรักษาพนักงานที่มีความสามารถเหล่านั้นให้ทำงานอยู่กับองค์การ เพราะมีความก้าวหน้ามั่นคง
1.3.3 การจูงใจ (Motivation) โดยกระตุ้นให้พนักงานมีความมุ่งมั่นในอาชีพที่ทำอยู่
1.3.4 การพัฒนา (Development) โดยเปิดโอกาสให้ได้พัฒนาศักยภาพและมีความก้าวหน้าในเส้นทางอาชีพ
1.4 หลักความเป็นกลางทางการเมือง (Political neutrality) หมายถึง การไม่เปิดโอกาสให้มีการใช้อิทธิพลทางการเมืองเข้าแทรกแซงในกิจการงาน หรืออยู่ภายใต้อิทธิพลของนักการเมืองหรือพรรคการเมืองใดๆ
2. ระบบอุปถัมภ์ (Patronage system)
ระบบอุปถัมภ์เป็นระบบการคัดเลือกบุคคลเข้าทำงานโดยใช้เหตุผลทางการเมืองหรือความสัมพันธ์เป็นหลักสำคัญ โดยไม่คำนึงถึงความรู้ ความสามารถ และความเหมาะสมเป็นประการหลักลักษณะทั่ว ๆ ไป ของระบบอุปถัมภ์จึงมีลักษณะตรงกันข้ามกับระบบคุณธรรม ระบบนี้มีชื่อเรียกอีกหลายชื่อ เช่น ระบบชุบเลี้ยง (Spoiled system) ระบบพรรคพวกหรือระบบเล่นพวก (Nepotism) หรือระบบคนพิเศษ (Favoritism)
หลักการสำคัญของระบบอุปถัมภ์ สรุปได้ดังนี้
2.1 ระบบสืบสายโลหิต เป็นระบบที่บุตรชายคนโตจะได้สืบทอดตำแหน่งของบิดา
2.2 ระบบชอบพอเป็นพิเศษ เป็นระบบที่แต่งตั้งผู้ที่อยู่ใกล้ชิด หรือคนที่โปรดปรานเป็นพิเศษให้ดำรงตำแหน่ง
2.3 ระบบแลกเปลี่ยน เป็นระบบที่ใช้สิ่งของหรือทรัพย์สินมีค่ามาแลกเปลี่ยนกับตำแหน่งการยึดระบบอุปถัมภ์เป็นแนวปฏิบัติในการบริหารทรัพยากรมนุษย์ในองค์การจะก่อให้เกิดผล ดังนี้
1) การพิจารณาบรรจุแต่งตั้ง เลื่อนขั้น เลื่อนตำแหน่ง เป็นไปตามความพอใจส่วน
บุคคลของหัวหน้าเป็นหลัก ไม่ได้คำนึงถึงความรู้ความส่ามารถของบุคคลเป็นเกณฑ์
2) การคัดเลือกคนไม่เปิดโอกาสที่เท่าเทียมกันแก่ผู้ที่มีสิทธิ์ แต่จะให้โอกาสกับพวกพ้องตนเองก่อน
3) ผู้ปฏิบัติงานมุ่งทำงานเพื่อเอาใจผู้ครองอำนาจ มากกว่าจะปฏิบัติงานตามหน้าที่
4) อิทธิพลทางการเมืองเข้ามาแทรกแซงการดำเนินงานภายในของหน่วยงาน
5) ผู้ปฏิบัติงานไม่มีความมั่นคงในหน้าที่ที่กำลังทำอยู่ เพราะอาจถูกปลดได้ถ้าผู้มี
อำนาจไม่พอใจ
จากคุณลักษณะเด่นๆ ของระบบการบริหารทั้งสองระบบที่เสนอไปนั้น พอจะสรุปข้อเปรียบเทียบระหว่างทั้งสองระบบโดยพิจารณาจากหลักปฏิบัติของแต่ละระบบได้ดังต่อไปนี้
แผนภาพ การเปรียบเทียบหลักปฏิบัติระหว่างระบบคุณธรรมกับระบบอุปถัมภ์
ระบบคุณธรรม ระบบอุปถัมภ์
1. ยึดหลักความสามารถ
2. เปิดโอกาสให้ทุกคนเท่าเทียมกัน
3. มีความมั่นคงในการทำงาน
4. ไม่มีอิทธิพลทางการเมืองเข้าแทรก
1. ยึดความพึงพอใจ
2. ให้โอกาสแก่พรรคพวกหรือญาติพี่น้อง
3. ขาดความมั่นคงในการทำงาน
4. มีอิทธิพลการเมืองเข้าแทรกแซงการทำงาน
อ้างอิง : ไพโรจน์ อุลิต. 2547. ระบบการบริหารทรัพยากรมนุษย์. [Online] Available URL ; http://it.aru.ac.th/ courseware2/detail/chapter2/c28.htm
ที่มา isc.ru.ac.th/data/PS0004236.doc
วันศุกร์ที่ 11 พฤษภาคม พ.ศ. 2555
วันพฤหัสบดีที่ 10 พฤษภาคม พ.ศ. 2555
การจัดทำมาตรฐาน ภาระงานสำหรับข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาในสถานศึกษา
พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาพ.ศ. ๒๕๔๗
มาตรา ๒๗ ให้ผู้บริหารสถานศึกษาเป็นผู้บังคับบัญชาของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาในสถานศึกษา และมีอำนาจและหน้าที่ ดังต่อไปนี้
(๔) จัดทำมาตรฐาน ภาระงานสำหรับข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาในสถานศึกษา
1. ขอบข่ายและภารกิจของสถานศึกษา
2. การแบ่งส่วนราชการภายในสถานศึกษา
3. ระเบียบที่คณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษากำหนด
4. กำหนดอำนาจหน้าที่ของแต่ละส่วนราชการภารกิจของสถานศึกษาที่กระทรวงศึกษาธิการกระจายอำนาจการบริหารและการจัดการศึกษา
ทั้งด้านวิชาการ งบประมาณ การบริหารงานบุคคล และการบริหารทั่วไป
1. งานบริหารวิชาการ
1.1 การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา
1.2 การพัฒนากระบวนการเรียนรู้
1.3 การวัดผล ประเมินผล และเทียบโอนผลการเรียน
1.4 การวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา
1.5 การพัฒนาสื่อ นวัตกรรม และเทคโนโลยีทางการศึกษา
1.6 การพัฒนาแหล่งเรียนรู้
1.7 การนิเทศการศึกษา
1.8 การแนะแนวการศึกษา
1.9 การพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
1.10 การส่งเสริมความรู้ด้านวิชาการแก่ชุมชน
1.11 การประสานความร่วมมือในการพัฒนาวิชาการกับสถานศึกษาอื่น
1.12 การส่งเสริมและสนับสนุนงานวิชาการแก่บุคคล ครอบครัว องค์กร หน่วยงานและสถาบันอื่นที่จัดการศึกษา
2. งานบริหารงบประมาณ
2.1 การจัดทำและเสนอของบประมาณ
2.2 การจัดสรรงบประมาณ
2.3 การตรวจสอบ ติดตาม ประเมินผล และรายงานผลการใช้เงินและผลการดำเนินงาน
2.4 การระดมทรัพยากรและการลงทุนเพื่อการศึกษา
2.5 การบริหารการเงิน
2.6 การบริหารบัญชี
2.7 การบริหารพัสดุและสินทรัพย์
3. งานบริหารงานบุคคล
3.1 การวางแผนอัตรากำลังและกำหนดตำแหน่ง
3.2 การสรรหาและการบรรจุแต่งตั้ง
3.3 การเสริมสร้างประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ
3.4 วินัยและการรักษาวินัย
3.5 การออกจากราชการ
4. งานบริหารทั่วไป
4.1 การดำเนินงานธุรการ
4.2 งานเลขานุการคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
4.3 งานพัฒนาระบบและเครือข่ายข้อมูลสารสนเทศ
4.4 การประสานและพัฒนาเครือข่ายการศึกษา
4.5 การจัดระบบการบริหารและพัฒนาองค์กร
4.6 งานเทคโนโลยีสารสนเทศ
4.7 การส่งเสริม สนับสนุนด้านวิชาการ งบประมาณ บุคลากร และบริหารทั่วไป
4.8 การจัดสถานที่และสภาพแวดล้อม
4.9 การจัดทำสำมะโนผู้เรียน
4.10 การรับนักเรียน
4.11 การส่งเสริมและประสานงานการศึกษาในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย
4.12 การระดมทรัพยากรเพื่อการศึกษา
4.13 งานส่งเสริมงานกิจการนักเรียน
4.14 การประชาสัมพันธ์งานการศึกษา
4.15 การส่งเสริม สนับสนุน และประสานงานการศึกษาของบุคคล ชุมชน องค์กร
หน่วยงานและสถาบัน สังคมอื่นที่จัดการศึกษา
4.16 งานประสานราชการกับเขตพื้นที่การศึกษาและหน่วยงานอื่น
4.17 การจัดระบบการควบคุมภายในหน่วยงาน
4.18 งานบริการสาธารณะ
4.19 งานที่ไม่ได้ระบุไว้ในงานอื่น
ที่มา คู่มือการปฏิบัติงานข้าราชการคู่
มาตรา ๒๗ ให้ผู้บริหารสถานศึกษาเป็นผู้บังคับบัญชาของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาในสถานศึกษา และมีอำนาจและหน้าที่ ดังต่อไปนี้
(๔) จัดทำมาตรฐาน ภาระงานสำหรับข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาในสถานศึกษา
1. ขอบข่ายและภารกิจของสถานศึกษา
2. การแบ่งส่วนราชการภายในสถานศึกษา
3. ระเบียบที่คณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษากำหนด
4. กำหนดอำนาจหน้าที่ของแต่ละส่วนราชการภารกิจของสถานศึกษาที่กระทรวงศึกษาธิการกระจายอำนาจการบริหารและการจัดการศึกษา
ทั้งด้านวิชาการ งบประมาณ การบริหารงานบุคคล และการบริหารทั่วไป
1. งานบริหารวิชาการ
1.1 การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา
1.2 การพัฒนากระบวนการเรียนรู้
1.3 การวัดผล ประเมินผล และเทียบโอนผลการเรียน
1.4 การวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา
1.5 การพัฒนาสื่อ นวัตกรรม และเทคโนโลยีทางการศึกษา
1.6 การพัฒนาแหล่งเรียนรู้
1.7 การนิเทศการศึกษา
1.8 การแนะแนวการศึกษา
1.9 การพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
1.10 การส่งเสริมความรู้ด้านวิชาการแก่ชุมชน
1.11 การประสานความร่วมมือในการพัฒนาวิชาการกับสถานศึกษาอื่น
1.12 การส่งเสริมและสนับสนุนงานวิชาการแก่บุคคล ครอบครัว องค์กร หน่วยงานและสถาบันอื่นที่จัดการศึกษา
2. งานบริหารงบประมาณ
2.1 การจัดทำและเสนอของบประมาณ
2.2 การจัดสรรงบประมาณ
2.3 การตรวจสอบ ติดตาม ประเมินผล และรายงานผลการใช้เงินและผลการดำเนินงาน
2.4 การระดมทรัพยากรและการลงทุนเพื่อการศึกษา
2.5 การบริหารการเงิน
2.6 การบริหารบัญชี
2.7 การบริหารพัสดุและสินทรัพย์
3. งานบริหารงานบุคคล
3.1 การวางแผนอัตรากำลังและกำหนดตำแหน่ง
3.2 การสรรหาและการบรรจุแต่งตั้ง
3.3 การเสริมสร้างประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ
3.4 วินัยและการรักษาวินัย
3.5 การออกจากราชการ
4. งานบริหารทั่วไป
4.1 การดำเนินงานธุรการ
4.2 งานเลขานุการคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
4.3 งานพัฒนาระบบและเครือข่ายข้อมูลสารสนเทศ
4.4 การประสานและพัฒนาเครือข่ายการศึกษา
4.5 การจัดระบบการบริหารและพัฒนาองค์กร
4.6 งานเทคโนโลยีสารสนเทศ
4.7 การส่งเสริม สนับสนุนด้านวิชาการ งบประมาณ บุคลากร และบริหารทั่วไป
4.8 การจัดสถานที่และสภาพแวดล้อม
4.9 การจัดทำสำมะโนผู้เรียน
4.10 การรับนักเรียน
4.11 การส่งเสริมและประสานงานการศึกษาในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย
4.12 การระดมทรัพยากรเพื่อการศึกษา
4.13 งานส่งเสริมงานกิจการนักเรียน
4.14 การประชาสัมพันธ์งานการศึกษา
4.15 การส่งเสริม สนับสนุน และประสานงานการศึกษาของบุคคล ชุมชน องค์กร
หน่วยงานและสถาบัน สังคมอื่นที่จัดการศึกษา
4.16 งานประสานราชการกับเขตพื้นที่การศึกษาและหน่วยงานอื่น
4.17 การจัดระบบการควบคุมภายในหน่วยงาน
4.18 งานบริการสาธารณะ
4.19 งานที่ไม่ได้ระบุไว้ในงานอื่น
ที่มา คู่มือการปฏิบัติงานข้าราชการคู่
การมอบอำนาจทางราชการ
ระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา (ฉบับที่ ๓)พ.ศ. ๒๕๕๓
มาตรา 68 ถ้าตำแหน่งข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาตำแหน่งใดว่างลง หรือผู้ดำรงตำแหน่งไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ราชการได้ ให้ ผู้ 53 สั่งให้ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาไปรักษาการในตำแหน่งได้ ******* การรักษาการในตำแหน่ง*************
พรบ.ระเบียบพระราชบัญญัติ
ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ
พ.ศ. ๒๕๔๖
การปฏิบัติราชการแทน
มาตรา ๔๕ อำนาจในการสั่ง การอนุญาต การอนุมัติ การปฏิบัติราชการ ผู้ดำรงตำแหน่งนั้นอาจมอบอำนาจให้ผู้ดำรงตำแหน่งอื่นปฏิบัติราชการแทนได้ โดยคำนึงถึงความเป็นอิสระ การบริหารงานที่คล่องตัวในการจัดการศึกษาของสถานศึกษาการมอบอำนาจตามมาตรานี้ให้ทำเป็นหนังสือเมื่อได้ได้มอบ อำนาจแล้ว ผู้มอบอำนาจมีหน้าที่กำกับติดตามผลการปฏิบัติราชการของผู้รับมอบอำนาจและให้ มีอำนาจแนะนำและแก้ไขการปฏิบัติราชการของผู้รับมอบอำนาจได้
(๖) ผู้ อำนวยการสถานศึกษาหรือผู้ดำรงตำแหน่งเทียบเท่า อาจมอบอำนาจให้ข้าราชการในสถานศึกษาหรือในหน่วยงานที่เรียกชื่ออย่างอื่นได้ ตามระเบียบที่คณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษากำหนด
มาตรา ๔๕ อำนาจในการสั่ง การอนุญาต การอนุมัติ การปฏิบัติราชการหรือการดำเนินการอื่นที่ผู้ดำรงตำแหน่งใดในพระราชบัญญัติ นี้จะพึงปฏิบัติหรือดำเนินการตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ หรือคำสั่งใด หรือมติของคณะรัฐมนตรีในเรื่องใด ถ้ากฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ หรือคำสั่งนั้น หรือมติของคณะรัฐมนตรีในเรื่องนั้น มิได้กำหนดเรื่องการมอบอำนาจไว้เป็นอย่างอื่น หรือมิได้ห้ามเรื่องการมอบอำนาจไว้ ผู้ดำรงตำแหน่งนั้นอาจมอบอำนาจให้ผู้ดำรงตำแหน่งอื่นปฏิบัติราชการแทนได้ โดยคำนึงถึงความเป็นอิสระ การบริหารงานที่คล่องตัวในการจัดการศึกษาของสถานศึกษาและของสำนักงานเขต พื้นที่การศึกษาที่บัญญัติในมาตรา ๔๔ (๑) และ (๒) ดังต่อไปนี้
(๑) รัฐมนตรี ว่าการกระทรวงศึกษาธิการอาจมอบอำนาจให้รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ปลัดกระทรวง เลขาธิการ หรือหัวหน้าส่วนราชการซึ่งดำรงตำแหน่งเทียบเท่าอธิการบดีในสถานศึกษาของรัฐ ที่จัดการศึกษาระดับปริญญาในสังกัด หรือผู้ว่าราชการจังหวัด
(๒) ปลัด กระทรวงอาจมอบอำนาจให้รองปลัดกระทรวง ผู้ช่วยปลัดกระทรวงหรือเลขาธิการ อธิการบดีในสถานศึกษาของรัฐที่จัดการศึกษาระดับปริญญาในสังกัด หรือผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา หรือผู้อำนวยการสถานศึกษา หรือผู้ว่าราชการจังหวัด
(๓) เลขาธิการ อาจมอบอำนาจให้รองเลขาธิการ ผู้ช่วยเลขาธิการ อธิการบดีในสถานศึกษาของรัฐที่จัดการศึกษาระดับปริญญาในสังกัด ผู้อำนวยการสำนัก ผู้อำนวยการสำนักบริหารงานหรือผู้ดำรงตำแหน่งเทียบเท่า ผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา หรือผู้อำนวยการสถานศึกษาหรือผู้ว่าราชการจังหวัด
(๔) ผู้ อำนวยการสำนัก ผู้อำนวยการสำนักบริหารงาน หรือผู้ดำรงตำแหน่งเทียบเท่าอาจมอบอำนาจให้ผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษา ผู้อำนวยการสถานศึกษา หรือผู้ดำรงตำแหน่งเทียบเท่า
(๕) ผู้ อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาหรือผู้ดำรงตำแหน่งเทียบเท่า อาจมอบอำนาจให้ข้าราชการในสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา หรือผู้อำนวยการสถานศึกษาหรือหัวหน้าหน่วยงานที่เรียกชื่ออย่างอื่นในเขต พื้นที่การศึกษาที่ตนรับผิดชอบได้ตามระเบียบที่เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐานกำหนด
(๖) ผู้ อำนวยการสถานศึกษาหรือผู้ดำรงตำแหน่งเทียบเท่า อาจมอบอำนาจให้ข้าราชการในสถานศึกษาหรือในหน่วยงานที่เรียกชื่ออย่างอื่นได้ ตามระเบียบที่คณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษากำหนด
(๗) ผู้ดำรงตำแหน่ง (๑) ถึง (๖) อาจมอบอำนาจให้บุคคลอื่นได้ตามระเบียบที่คณะรัฐมนตรีกำหนด
การมอบอำนาจตามมาตรานี้ให้ทำเป็นหนังสือ
การรักษาราชการแทน
มาตรา ๕๔ ในกรณีที่ไม่มีผู้ดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการสถานศึกษา หรือมีแต่ไม่อาจปฏิบัติราชการได้ ให้รองผู้อำนวยการสถานศึกษารักษาราชการแทน ถ้ามีรองผู้อำนวยการสถานศึกษาหลายคน ให้ผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาแต่งตั้งรองผู้อำนวยการสถานศึกษา คนใดคนหนึ่งรักษาราชการแทน ถ้าไม่มีผู้ดำรงตำแหน่งรองผู้อำนวยการสถานศึกษา หรือมีแต่ไม่อาจปฏิบัติราชการได้ ให้ผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาแต่งตั้งข้าราชการในสถานศึกษาคนใด คนหนึ่งเป็นผู้รักษาราชการแทนก็ได้
******************************************************************************
ตัวอย่าง
ผู้บริหารไม่อยู่ ไปราชการต่างจังหวัดจะมอบหมายรองผู้อำนวยการตามข้อใดจึงจะถูกต้อง
ตอบ รักษาราชการแทน
มาตรา 68 ถ้าตำแหน่งข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาตำแหน่งใดว่างลง หรือผู้ดำรงตำแหน่งไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ราชการได้ ให้ ผู้ 53 สั่งให้ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาไปรักษาการในตำแหน่งได้ ******* การรักษาการในตำแหน่ง*************
พรบ.ระเบียบพระราชบัญญัติ
ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ
พ.ศ. ๒๕๔๖
การปฏิบัติราชการแทน
มาตรา ๔๕ อำนาจในการสั่ง การอนุญาต การอนุมัติ การปฏิบัติราชการ ผู้ดำรงตำแหน่งนั้นอาจมอบอำนาจให้ผู้ดำรงตำแหน่งอื่นปฏิบัติราชการแทนได้ โดยคำนึงถึงความเป็นอิสระ การบริหารงานที่คล่องตัวในการจัดการศึกษาของสถานศึกษาการมอบอำนาจตามมาตรานี้ให้ทำเป็นหนังสือเมื่อได้ได้มอบ อำนาจแล้ว ผู้มอบอำนาจมีหน้าที่กำกับติดตามผลการปฏิบัติราชการของผู้รับมอบอำนาจและให้ มีอำนาจแนะนำและแก้ไขการปฏิบัติราชการของผู้รับมอบอำนาจได้
(๖) ผู้ อำนวยการสถานศึกษาหรือผู้ดำรงตำแหน่งเทียบเท่า อาจมอบอำนาจให้ข้าราชการในสถานศึกษาหรือในหน่วยงานที่เรียกชื่ออย่างอื่นได้ ตามระเบียบที่คณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษากำหนด
มาตรา ๔๕ อำนาจในการสั่ง การอนุญาต การอนุมัติ การปฏิบัติราชการหรือการดำเนินการอื่นที่ผู้ดำรงตำแหน่งใดในพระราชบัญญัติ นี้จะพึงปฏิบัติหรือดำเนินการตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ หรือคำสั่งใด หรือมติของคณะรัฐมนตรีในเรื่องใด ถ้ากฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ หรือคำสั่งนั้น หรือมติของคณะรัฐมนตรีในเรื่องนั้น มิได้กำหนดเรื่องการมอบอำนาจไว้เป็นอย่างอื่น หรือมิได้ห้ามเรื่องการมอบอำนาจไว้ ผู้ดำรงตำแหน่งนั้นอาจมอบอำนาจให้ผู้ดำรงตำแหน่งอื่นปฏิบัติราชการแทนได้ โดยคำนึงถึงความเป็นอิสระ การบริหารงานที่คล่องตัวในการจัดการศึกษาของสถานศึกษาและของสำนักงานเขต พื้นที่การศึกษาที่บัญญัติในมาตรา ๔๔ (๑) และ (๒) ดังต่อไปนี้
(๑) รัฐมนตรี ว่าการกระทรวงศึกษาธิการอาจมอบอำนาจให้รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ปลัดกระทรวง เลขาธิการ หรือหัวหน้าส่วนราชการซึ่งดำรงตำแหน่งเทียบเท่าอธิการบดีในสถานศึกษาของรัฐ ที่จัดการศึกษาระดับปริญญาในสังกัด หรือผู้ว่าราชการจังหวัด
(๒) ปลัด กระทรวงอาจมอบอำนาจให้รองปลัดกระทรวง ผู้ช่วยปลัดกระทรวงหรือเลขาธิการ อธิการบดีในสถานศึกษาของรัฐที่จัดการศึกษาระดับปริญญาในสังกัด หรือผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา หรือผู้อำนวยการสถานศึกษา หรือผู้ว่าราชการจังหวัด
(๓) เลขาธิการ อาจมอบอำนาจให้รองเลขาธิการ ผู้ช่วยเลขาธิการ อธิการบดีในสถานศึกษาของรัฐที่จัดการศึกษาระดับปริญญาในสังกัด ผู้อำนวยการสำนัก ผู้อำนวยการสำนักบริหารงานหรือผู้ดำรงตำแหน่งเทียบเท่า ผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา หรือผู้อำนวยการสถานศึกษาหรือผู้ว่าราชการจังหวัด
(๔) ผู้ อำนวยการสำนัก ผู้อำนวยการสำนักบริหารงาน หรือผู้ดำรงตำแหน่งเทียบเท่าอาจมอบอำนาจให้ผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษา ผู้อำนวยการสถานศึกษา หรือผู้ดำรงตำแหน่งเทียบเท่า
(๕) ผู้ อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาหรือผู้ดำรงตำแหน่งเทียบเท่า อาจมอบอำนาจให้ข้าราชการในสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา หรือผู้อำนวยการสถานศึกษาหรือหัวหน้าหน่วยงานที่เรียกชื่ออย่างอื่นในเขต พื้นที่การศึกษาที่ตนรับผิดชอบได้ตามระเบียบที่เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐานกำหนด
(๖) ผู้ อำนวยการสถานศึกษาหรือผู้ดำรงตำแหน่งเทียบเท่า อาจมอบอำนาจให้ข้าราชการในสถานศึกษาหรือในหน่วยงานที่เรียกชื่ออย่างอื่นได้ ตามระเบียบที่คณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษากำหนด
(๗) ผู้ดำรงตำแหน่ง (๑) ถึง (๖) อาจมอบอำนาจให้บุคคลอื่นได้ตามระเบียบที่คณะรัฐมนตรีกำหนด
การมอบอำนาจตามมาตรานี้ให้ทำเป็นหนังสือ
การรักษาราชการแทน
มาตรา ๕๔ ในกรณีที่ไม่มีผู้ดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการสถานศึกษา หรือมีแต่ไม่อาจปฏิบัติราชการได้ ให้รองผู้อำนวยการสถานศึกษารักษาราชการแทน ถ้ามีรองผู้อำนวยการสถานศึกษาหลายคน ให้ผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาแต่งตั้งรองผู้อำนวยการสถานศึกษา คนใดคนหนึ่งรักษาราชการแทน ถ้าไม่มีผู้ดำรงตำแหน่งรองผู้อำนวยการสถานศึกษา หรือมีแต่ไม่อาจปฏิบัติราชการได้ ให้ผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาแต่งตั้งข้าราชการในสถานศึกษาคนใด คนหนึ่งเป็นผู้รักษาราชการแทนก็ได้
******************************************************************************
ตัวอย่าง
ผู้บริหารไม่อยู่ ไปราชการต่างจังหวัดจะมอบหมายรองผู้อำนวยการตามข้อใดจึงจะถูกต้อง
ตอบ รักษาราชการแทน
โรงเรียนมาตรฐานสากล
โรงเรียนมาตรฐานสากล ( World class standard school)
หมายถึง โรงเรียนที่จัดการเรียนการสอนมุ่งให้ผู้เรียนมีคุณลักษณะพึงประสงค์ (Learner Profile) เทียบเคียงมาตรฐานสากล (World class standard) ผู้เรียนมีศักยภาพ เป็นพลโลก (World citizen)เพื่อพัฒนายกระดับคุณภาพจัดการเรียนการสอนและการจัดการด้วยระบบคุณภาพ
เพื่อให้ผู้เรียนมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียนเป็นมาตรฐานสากล
โรงเรียนมาตรฐานสากลมีวัตถุประสงค์ที่สำคัญคือการพัฒนาผู้เรียนให้มีศักยภาพเป็นพลโลก
การเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21 Academic Achievements
Effective Communicationสื่อสารมีประสิทธิผล
Digital-Age Literacy รู้ภาษายุคดิจิตัล
Inventive Thinkingการคิดประดิษฐ์ –สร้าง
High Productivity มีผลิตภาพสูง
คุณภาพผู้เรียน โรงเรียนมาตรฐานสากล
1. เป็นเลิศวิชาการ
2. สื่อสาร 2 ภาษา
3. ล้ำหน้าความคิด
4. ผลิตงานอย่าง สร้างสรรค์
5. ร่วมกันรับผิดชอบต่อ สังคมโลก
มีความเป็นเลิศทางวิชาการ(Smart) มีความรู้พื้นฐานทางด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ เทคโนโลยี มีผลการเรียนดีเป็นที่ยอมรับในระดับนานาชาติ สามารถศึกษาต่อในระดับสูง ระดับอุดมศึกษาได้ทั้งในประเทศและต่างประเทศ
สื่อสารสองภาษา(Communication) มีทักษะการสื่อสารทางภาษาได้ดีทั้งภาษาไทย ภาษาอังกฤษ และภาษาต่างประเทศอื่นๆ เป็นที่ยอมรับจากสถาบันทางภาษา
ล้ำหน้าทางความคิด(Thinker) มีความใฝ่รู้ สร้างสรรค์ กล้าเผชิญความเสี่ยง คิดได้ในระดับสูง มีเหตุผลรู้จักคิดวิเคราะห์ วิจารณ์ สังเคราะห์ และประเมินค่าได้ดี ตลอดจนแก้ปัญหา จัดการกับความซับซ้อนได้
ผลิตผลงานอย่างสร้างสรรค์(Innovatior) สามารถจัดลำดับความสำคัญ วางแผนและบริหารจัดการสู่ความสำเร็จ สามารถใช้เทคโนโลยีในการเรียนรู้ ได้อย่างกว้างขวาง สามารถผลิตผลงานที่เหมาะสมมีคุณภาพสูง
ร่วมกันรับผิดชอบต่อสังคมโลก(Global Citizenship)มีความตระหนักรู้สถานการณ์โลก สามารถเรียนรู้และจัดการความซับซ้อน มีความรู้ความเข้าใจวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียม ประเพณีของไทยและของนานาชาติ
สมรรถนะส่งเสริมคุณภาพผู้เรียน โรงเรียนมาตรฐานสากล
ใช้เทคโนโลยีเป็น
สื่อสารเป็น
คิดเป็น
แก้ปัญหาเป็น
ใช้ทักษะชีวิต
สาระสากล (เก่า)
- TOK (Theory of Knowledge) - EE (Extended – Essay)
- CAS (Creativity,Action,Service) - GE (Global Education)
- ภาษาอังกฤษ - ภาษาต่างประเทศที่ 2
สาระสากล (ใหม่)
IS 1
IS 2
IS 3
คลิกดูเพิ่มเติมที่ http://www.worldclassschoolthai.net/xeksar/mathymsuksa-yukh-him-su-matrthan-sakl-2561
หมายถึง โรงเรียนที่จัดการเรียนการสอนมุ่งให้ผู้เรียนมีคุณลักษณะพึงประสงค์ (Learner Profile) เทียบเคียงมาตรฐานสากล (World class standard) ผู้เรียนมีศักยภาพ เป็นพลโลก (World citizen)เพื่อพัฒนายกระดับคุณภาพจัดการเรียนการสอนและการจัดการด้วยระบบคุณภาพ
เพื่อให้ผู้เรียนมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียนเป็นมาตรฐานสากล
โรงเรียนมาตรฐานสากลมีวัตถุประสงค์ที่สำคัญคือการพัฒนาผู้เรียนให้มีศักยภาพเป็นพลโลก
การเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21 Academic Achievements
Effective Communicationสื่อสารมีประสิทธิผล
Digital-Age Literacy รู้ภาษายุคดิจิตัล
Inventive Thinkingการคิดประดิษฐ์ –สร้าง
High Productivity มีผลิตภาพสูง
คุณภาพผู้เรียน โรงเรียนมาตรฐานสากล
1. เป็นเลิศวิชาการ
2. สื่อสาร 2 ภาษา
3. ล้ำหน้าความคิด
4. ผลิตงานอย่าง สร้างสรรค์
5. ร่วมกันรับผิดชอบต่อ สังคมโลก
มีความเป็นเลิศทางวิชาการ(Smart) มีความรู้พื้นฐานทางด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ เทคโนโลยี มีผลการเรียนดีเป็นที่ยอมรับในระดับนานาชาติ สามารถศึกษาต่อในระดับสูง ระดับอุดมศึกษาได้ทั้งในประเทศและต่างประเทศ
สื่อสารสองภาษา(Communication) มีทักษะการสื่อสารทางภาษาได้ดีทั้งภาษาไทย ภาษาอังกฤษ และภาษาต่างประเทศอื่นๆ เป็นที่ยอมรับจากสถาบันทางภาษา
ล้ำหน้าทางความคิด(Thinker) มีความใฝ่รู้ สร้างสรรค์ กล้าเผชิญความเสี่ยง คิดได้ในระดับสูง มีเหตุผลรู้จักคิดวิเคราะห์ วิจารณ์ สังเคราะห์ และประเมินค่าได้ดี ตลอดจนแก้ปัญหา จัดการกับความซับซ้อนได้
ผลิตผลงานอย่างสร้างสรรค์(Innovatior) สามารถจัดลำดับความสำคัญ วางแผนและบริหารจัดการสู่ความสำเร็จ สามารถใช้เทคโนโลยีในการเรียนรู้ ได้อย่างกว้างขวาง สามารถผลิตผลงานที่เหมาะสมมีคุณภาพสูง
ร่วมกันรับผิดชอบต่อสังคมโลก(Global Citizenship)มีความตระหนักรู้สถานการณ์โลก สามารถเรียนรู้และจัดการความซับซ้อน มีความรู้ความเข้าใจวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียม ประเพณีของไทยและของนานาชาติ
สมรรถนะส่งเสริมคุณภาพผู้เรียน โรงเรียนมาตรฐานสากล
ใช้เทคโนโลยีเป็น
สื่อสารเป็น
คิดเป็น
แก้ปัญหาเป็น
ใช้ทักษะชีวิต
สาระสากล (เก่า)
- TOK (Theory of Knowledge) - EE (Extended – Essay)
- CAS (Creativity,Action,Service) - GE (Global Education)
- ภาษาอังกฤษ - ภาษาต่างประเทศที่ 2
สาระสากล (ใหม่)
IS 1
IS 2
IS 3
คลิกดูเพิ่มเติมที่ http://www.worldclassschoolthai.net/xeksar/mathymsuksa-yukh-him-su-matrthan-sakl-2561
จุดเน้นในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน
กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศจุดเน้นในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนออกเป็น 5 ระยะดังนี้ คือ
ระยะที่ 1 เริ่มต้นวิเคราะห์ ภาคเรียนที่ 2 /2553 ทุกสถานศึกษาจะต้องมีผลการดำเนินงานครบ 6 ตัวชี้วัดคือ
1. มีข้อมูลผู้เรียนรายบุคคล ครบถ้วน พร้อมใช้
2. มีแผนพัฒนาผู้เรียนตามจุดเน้นที่ชัดเจน ปฏิบัติได้
3. มีฐานข้อมูลแหล่งเรียนรู้ทั้งในและนอกห้องเรียนเพียงพอ
4. มีตารางเรียนที่ยืดหยุ่นตามจุดเน้น
5. มีกิจกรรมการเรียนรู้ทั้งในและนอกห้องเรียน สัดส่วนเวลาเรียน 70:30
6. มีเครื่องมือวัดและประเมินผลที่หลากหลาย ครอบคลุมตามจุดเน้น
ระยะที่ 2 บ่มเพาะประสบการณ์ ภาคเรียนที่ 1/2554 ทุกสถานศึกษาจะต้องมี ผลการดำเนินงานครบ6 ตัวชี้วัดคือ
1. ผู้เรียนได้สำรวจ สืบค้น ทำโครงงาน โครงการ จากแหล่งเรียนรู้ทั้งในและนอกห้องเรียน
2. ครูใช้ แหล่งเรียนรู้ทั้งในและนอกห้องเรียนอย่างคุ้มค่า
3. บรรยากาศเอื้อต่อการเรียนรู้ทั้งในและนอกห้องเรียน
4. ชุมชนเข้าใจ ร่วมมือ สนับสนุนกิจกรรมการเรียนรู้
5. ครูพัฒนากระบวนการจัดการเรียนรู้/สื่อ อย่างมีประสิทธิภาพ
6. มีการนำผลการพัฒนาผู้เรียน ตามจุดเน้นมาแลกเปลี่ยนเรียนรู้
ระยะที่ 3 สานต่อองค์ความรู้ ภาคเรียนที่ 2/2554 ทุกสถานศึกษาจะต้องมีผลการดำเนินงานครบ4 ตัวชี้วัดคือ
1. มีการนำผลการแลกเปลี่ยนเรียนรู้มาใช้ในการปรับปรุงกิจกรรมการพัฒนาผู้เรียน
2. มีผลการวิจัยและพัฒนาคุณภาพผู้เรียนอย่างต่อเนื่อง
3. มีรายงานผลความก้าวหน้าในการพัฒนาผู้เรียน
4. มีการสร้างเครือข่าย / แลกเปลี่ยนเรียนรู้
ระยะที่ 4 นำสู่วิถีคุณภาพ ภาคเรียนที่ 1/2555 ทุกสถานศึกษาจะต้องมีผลการดำเนินงานครบ4 ตัวชี้วัดคือ
1. มีนวัตกรรมการบริหารเพื่อพัฒนาผู้เรียนตามจุดเน้น
2. มีนวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ตามจุดเน้น
3. มีเครื่องมือวัด /ประเมินผลการพัฒนาผู้เรียนที่มีคุณภาพ
4. มีการเผยแพร่การวิจัยและผลการพัฒนาผู้เรียน
ระยะที่ 5 มีวัฒนธรรมการเรียนรู้ใหม่ ภาคเรียนที่ 2 /2555 ทุกสถานศึกษาจะต้องมีผลการดำเนินงานครบ 6 ตัวชี้วัดคือ
1. ผู้เรียนเรียนรู้อย่างมีความสุข มีทักษะ ความสามารถและคุณลักษณะตามจุดเน้น
2. มีวัฒนธรรมการเรียนรู้ใหม่
3. ครูเป็นครูมืออาชีพ
4. โรงเรียนมีการจัดการความรู้
5. มีเครือข่ายร่วมพัฒนาที่เข้มแข็ง
6. สาธารณชนยอมรับ และมีความพึงพอใจ
จุดเน้นการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนมีดังนี้
1. ชั้น ป.1-3 คุณลักษณะที่ต้องการเน้นคือการใฝ่ดี ผู้เรียนจะต้องอ่านออก เขียนได้ คิดเลขเป็น ทักษะการคิดขั้นพื้นฐาน ทักษะชีวิต การสื่อสารอย่างสร้างสรรค์
2. ชั้น ป.4-6 คุณลักษณะที่ต้องการเน้นคือ ใฝ่เรียนรู้ ผู้เรียนจะต้องอ่านคล่อง เขียนคล่อง คิดเลขคล่อง ทักษะการคิดขั้นพื้นฐาน ทักษะชีวิต การสื่อสารอย่างสร้างสรรค์
3. ชั้น ม.1-3 คุณลักษณะที่ต้องการเน้นคืออยู่อย่างพอเพียง ผู้เรียนจะต้องสามารถใช้ทักษะการคิดขั้นสูง ทักษะชีวิต การแก้ปัญหา การใช้เทคโนโลยี รักการเรียนรู้ แสวงหาความรู้ด้วยตนเอง การสื่อสารอย่างสร้างสรรค์
4. ชั้น ม.4-6 คุณลักษณะที่ต้องการเน้นคือ มีความมุ่งมั่น ผู้เรียนจะต้องสามารถใช้ทักษะการคิดขั้นสูง ทักษะชีวิต การแก้ปัญหา การใช้เทคโนโลยี รักการเรียนรู้ แสวงหาความรู้ด้วยตนเอง ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) การสื่อสารอย่างสร้างสรรค์
การกำหนดระยะเวลาในการ พัฒนาคุณภาพผู้เรียนที่ชัดเจนอย่างนี้ทุกระยะ 6 เดือน ภาระงานของครูจะต้องเข้มข้นขึ้น ผู้ที่ยังยึดระบบเช้าชามเย็นชามคงจะต้องปรับระบบการทำงาน ปรับกระบวนการจัดการเรียนการสอนให้ผู้เรียนเกิดวัฒนธรรมการเรียนรู้ใหม่ให้ จงได้ภายในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2555
แหล่งอ้างอิง http://www.moe.go.th/websm/2010/oct/364.html
ย่อสรุป
กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศจุดเน้นในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนออกเป็น 5 ระยะดังนี้ คือ
ระยะที่ 1 เริ่มต้นวิเคราะห์ ภาคเรียนที่ 2 /2553
รายบุคคล/แผน/ข้อมูลแหล่ง/ตารางเรียน/กิจกรรม/เครื่องมือวัด
ระยะที่ 2 บ่มเพาะประสบการณ์ ภาคเรียนที่ 1/2554
สำรวจสืบค้น/ใช้แหล่งเรียนรู้/ชุมชนเข้าใจ/ครูพัฒนา/แลกเปลี่ยน
ระยะที่ 3 สานต่อองค์ความรู้ ภาคเรียนที่ 2/2554
แลกเปลี่ยน/วิจัย/รายงาน/เครือข่าย
ระยะที่ 4 นำสู่วิถีคุณภาพ ภาคเรียนที่ 1/2555
นวัตบริหาร/นวัตเรียนรู้/วัดประเมิน/เผยแพร่วิจัย
ระยะที่ 5 มีวัฒนธรรมการเรียนรู้ใหม่ ภาคเรียนที่ 2 /2555
นร.สุข/เรียนรู้ใหม่/ครูอาชีพ/โรงเรียนจัดการ/เครือข่ายพัฒนา/ยอมรับ
66446
จุดเน้นการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนมีดังนี้
1. ชั้น ป.1-3 ใฝ่ดี อ่านออก เขียนได้ คิดเลขเป็น สร้างสรรค์
2. ชั้น ป.4-6 ใฝ่เรียนรู้อ่านคล่อง เขียนคล่อง คิดเลขคล่อง
3. ชั้น ม.1-3 อยู่อย่างพอเพียง
4. ชั้น ม.4-6 มีความมุ่งมั่น
ระยะที่ 1 เริ่มต้นวิเคราะห์ ภาคเรียนที่ 2 /2553 ทุกสถานศึกษาจะต้องมีผลการดำเนินงานครบ 6 ตัวชี้วัดคือ
1. มีข้อมูลผู้เรียนรายบุคคล ครบถ้วน พร้อมใช้
2. มีแผนพัฒนาผู้เรียนตามจุดเน้นที่ชัดเจน ปฏิบัติได้
3. มีฐานข้อมูลแหล่งเรียนรู้ทั้งในและนอกห้องเรียนเพียงพอ
4. มีตารางเรียนที่ยืดหยุ่นตามจุดเน้น
5. มีกิจกรรมการเรียนรู้ทั้งในและนอกห้องเรียน สัดส่วนเวลาเรียน 70:30
6. มีเครื่องมือวัดและประเมินผลที่หลากหลาย ครอบคลุมตามจุดเน้น
ระยะที่ 2 บ่มเพาะประสบการณ์ ภาคเรียนที่ 1/2554 ทุกสถานศึกษาจะต้องมี ผลการดำเนินงานครบ6 ตัวชี้วัดคือ
1. ผู้เรียนได้สำรวจ สืบค้น ทำโครงงาน โครงการ จากแหล่งเรียนรู้ทั้งในและนอกห้องเรียน
2. ครูใช้ แหล่งเรียนรู้ทั้งในและนอกห้องเรียนอย่างคุ้มค่า
3. บรรยากาศเอื้อต่อการเรียนรู้ทั้งในและนอกห้องเรียน
4. ชุมชนเข้าใจ ร่วมมือ สนับสนุนกิจกรรมการเรียนรู้
5. ครูพัฒนากระบวนการจัดการเรียนรู้/สื่อ อย่างมีประสิทธิภาพ
6. มีการนำผลการพัฒนาผู้เรียน ตามจุดเน้นมาแลกเปลี่ยนเรียนรู้
ระยะที่ 3 สานต่อองค์ความรู้ ภาคเรียนที่ 2/2554 ทุกสถานศึกษาจะต้องมีผลการดำเนินงานครบ4 ตัวชี้วัดคือ
1. มีการนำผลการแลกเปลี่ยนเรียนรู้มาใช้ในการปรับปรุงกิจกรรมการพัฒนาผู้เรียน
2. มีผลการวิจัยและพัฒนาคุณภาพผู้เรียนอย่างต่อเนื่อง
3. มีรายงานผลความก้าวหน้าในการพัฒนาผู้เรียน
4. มีการสร้างเครือข่าย / แลกเปลี่ยนเรียนรู้
ระยะที่ 4 นำสู่วิถีคุณภาพ ภาคเรียนที่ 1/2555 ทุกสถานศึกษาจะต้องมีผลการดำเนินงานครบ4 ตัวชี้วัดคือ
1. มีนวัตกรรมการบริหารเพื่อพัฒนาผู้เรียนตามจุดเน้น
2. มีนวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ตามจุดเน้น
3. มีเครื่องมือวัด /ประเมินผลการพัฒนาผู้เรียนที่มีคุณภาพ
4. มีการเผยแพร่การวิจัยและผลการพัฒนาผู้เรียน
ระยะที่ 5 มีวัฒนธรรมการเรียนรู้ใหม่ ภาคเรียนที่ 2 /2555 ทุกสถานศึกษาจะต้องมีผลการดำเนินงานครบ 6 ตัวชี้วัดคือ
1. ผู้เรียนเรียนรู้อย่างมีความสุข มีทักษะ ความสามารถและคุณลักษณะตามจุดเน้น
2. มีวัฒนธรรมการเรียนรู้ใหม่
3. ครูเป็นครูมืออาชีพ
4. โรงเรียนมีการจัดการความรู้
5. มีเครือข่ายร่วมพัฒนาที่เข้มแข็ง
6. สาธารณชนยอมรับ และมีความพึงพอใจ
จุดเน้นการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนมีดังนี้
1. ชั้น ป.1-3 คุณลักษณะที่ต้องการเน้นคือการใฝ่ดี ผู้เรียนจะต้องอ่านออก เขียนได้ คิดเลขเป็น ทักษะการคิดขั้นพื้นฐาน ทักษะชีวิต การสื่อสารอย่างสร้างสรรค์
2. ชั้น ป.4-6 คุณลักษณะที่ต้องการเน้นคือ ใฝ่เรียนรู้ ผู้เรียนจะต้องอ่านคล่อง เขียนคล่อง คิดเลขคล่อง ทักษะการคิดขั้นพื้นฐาน ทักษะชีวิต การสื่อสารอย่างสร้างสรรค์
3. ชั้น ม.1-3 คุณลักษณะที่ต้องการเน้นคืออยู่อย่างพอเพียง ผู้เรียนจะต้องสามารถใช้ทักษะการคิดขั้นสูง ทักษะชีวิต การแก้ปัญหา การใช้เทคโนโลยี รักการเรียนรู้ แสวงหาความรู้ด้วยตนเอง การสื่อสารอย่างสร้างสรรค์
4. ชั้น ม.4-6 คุณลักษณะที่ต้องการเน้นคือ มีความมุ่งมั่น ผู้เรียนจะต้องสามารถใช้ทักษะการคิดขั้นสูง ทักษะชีวิต การแก้ปัญหา การใช้เทคโนโลยี รักการเรียนรู้ แสวงหาความรู้ด้วยตนเอง ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) การสื่อสารอย่างสร้างสรรค์
การกำหนดระยะเวลาในการ พัฒนาคุณภาพผู้เรียนที่ชัดเจนอย่างนี้ทุกระยะ 6 เดือน ภาระงานของครูจะต้องเข้มข้นขึ้น ผู้ที่ยังยึดระบบเช้าชามเย็นชามคงจะต้องปรับระบบการทำงาน ปรับกระบวนการจัดการเรียนการสอนให้ผู้เรียนเกิดวัฒนธรรมการเรียนรู้ใหม่ให้ จงได้ภายในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2555
แหล่งอ้างอิง http://www.moe.go.th/websm/2010/oct/364.html
ย่อสรุป
กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศจุดเน้นในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนออกเป็น 5 ระยะดังนี้ คือ
ระยะที่ 1 เริ่มต้นวิเคราะห์ ภาคเรียนที่ 2 /2553
รายบุคคล/แผน/ข้อมูลแหล่ง/ตารางเรียน/กิจกรรม/เครื่องมือวัด
ระยะที่ 2 บ่มเพาะประสบการณ์ ภาคเรียนที่ 1/2554
สำรวจสืบค้น/ใช้แหล่งเรียนรู้/ชุมชนเข้าใจ/ครูพัฒนา/แลกเปลี่ยน
ระยะที่ 3 สานต่อองค์ความรู้ ภาคเรียนที่ 2/2554
แลกเปลี่ยน/วิจัย/รายงาน/เครือข่าย
ระยะที่ 4 นำสู่วิถีคุณภาพ ภาคเรียนที่ 1/2555
นวัตบริหาร/นวัตเรียนรู้/วัดประเมิน/เผยแพร่วิจัย
ระยะที่ 5 มีวัฒนธรรมการเรียนรู้ใหม่ ภาคเรียนที่ 2 /2555
นร.สุข/เรียนรู้ใหม่/ครูอาชีพ/โรงเรียนจัดการ/เครือข่ายพัฒนา/ยอมรับ
66446
จุดเน้นการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนมีดังนี้
1. ชั้น ป.1-3 ใฝ่ดี อ่านออก เขียนได้ คิดเลขเป็น สร้างสรรค์
2. ชั้น ป.4-6 ใฝ่เรียนรู้อ่านคล่อง เขียนคล่อง คิดเลขคล่อง
3. ชั้น ม.1-3 อยู่อย่างพอเพียง
4. ชั้น ม.4-6 มีความมุ่งมั่น
สอบผู้บริหาร 2555
กองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษาที่ผูก กับรายได้ในอนาคต (กรอ.)
- เงินกู้ กรอ.ซึ่งจะมาแทนเงิน กู้ กยศ. และเริ่มปล่อยกู้ตั้งแต่ 2555 นั้น จะไม่มีการจำกัดสาขาวิชาปล่อยกู้ ไม่เหมือนกับเงินกู้ กยศ. ที่ปล่อยกู้เฉพาะสาขาขาดแคลน
- สำหรับการปล่อยกู้ กรอ.จะปล่อยกู้เฉพาะระดับอุดมศึก
- รายการเงินกู้ กรอ. ตอบ ค่าเล่าเรียน ค่าครองชีพ และค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวข้อง (ครอบครัวมีรายได้ไม่เกิน ๒๐๐,๐๐ บาทต่อปี ก็จะให้ค่าครองชีพ)
กรอ.เป็นการให้ทุนการศึกษา ชำระคืนภายหลังมีงานทำและมีรายได้ (ตอบ) 16,000 บาท
************************************************
5 ฟรี เรียนดีอย่างมีคุณภาพ ตั้งแต่อนุบาลจนจบ ม.๖
(ฟรี ค่าเล่าเรียน ฟรี ค่าเครื่องแบบ ฟรี ค่าอุปกรณ์การเรียน ฟรี ค่าหนังสือเรียน ฟรี ค่ากิจกรรม)
************************************************
การออกจากราชการ (มาตรา 197)
1. ตาย
2. พ้นจากตำแหน่งตามกฎหมายว่าด้วยบำเหน็จบำนาญ
3. ลาออกและได้รับอนุญาตให้ลาออก
4. ถูกสั่งให้ออกจากราชการ
5. ถูกสั่งลงโทษปลดออก หรือ ไล่ออก
6. ถูกเพิกถอนใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ เว้นแต่ได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งอื่นที่ไม่ต้องมีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ
*************************************************
Fix-it Center ศูนย์ซ่อมสร้างประจำชุมชน เพื่อฝึกฝนทักษะอาชีพให้นักเรียนอาชีวศึกษาและให้บริการประชาชน
*************************************************
มาสคอต ก๊ฬาโอลิมปิก และ พาราลิมปิก 2012 (ตอบ) เวนล็อค และ แมนเดวิลล์
************************************************
สัดส่วนการบรรจุครูทุกประเภทในอนาคต
(ตอบ) ครูมืออาชีพและทุนอื่นๆ 35 % ครูอัตราจ้างที่รอบรรจุ 25 % และครูทั่วไป 40 %
***************************************************
กยศ. ใช้กับการศึกษาระดับใด กี่รายการ (ตอบ) ม.4-5-6 และ ปวช. ใช้กับ ค่าเล่าเรียนและค่าเครื่องอุปกรณ์การเรียน
***************************************************
สายด่วนกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี (ตอบ) 1111 กด 6
***************************************
ชื่อโครงการที่ ครม.อนุมัติ ให้ ศพส.จัดเฉลิมพระชนมพรรษาพระราชินี 80 พรรษาปี 255
(ตอบ) "โครงการหมู่บ้านกองทุนแม่ของแผ่นดินเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา มหาราชินี"
*****************************************
คุณสมบัติ 1 อำเภอ 1 ทุน (ตอบ) สัญชาติไทย อายุไม่เกิน 25 ปี จบ ม.6/เทียบเท่า เกรดเฉลี่ย 3.0 ขึ้น มีภูมิลำเนาตามทะเบียนราษฎร์ ไม่น้อยกว่า 6 เดือน
******************************************
1. ค่าขึ้นทะเบียนรับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพครู ฉบับละ 500 บาท
2. ค่าขึ้นทะเบียนรับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพผู้บริหารสถานศึกษา ฉบับละ 500 บาท
3. ค่าขึ้นทะเบียนรับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพผู้บริหารการศึกษา ฉบับละ 500 บาท
4. ค่าขึ้นทะเบียนรับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพควบคุมอื่น ฉบับละ 500 บาท
5. ค่าต่อใบอนุญาตประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ครั้งละ 200 บาท
6. ค่าหนังสือรับรองการขึ้นทะเบียนผู้ประกอบวิชาชีพ ฉบับละ 300 บาท
7. ค่าหนังสืออนุมัติหรือวุฒิบัตรแสดงความรู้ ความชำนาญ ฉบับละ 400 บาท
8. ค่าใบแทนใบอนุญาต ฉบับละ 200 บาท
ย่อ ขึ้น 5 ต่อ 2 รอง 3 บัตร 4 แทน 2
***************************************
อาเซียน มี 10ประเทศได้แก่
ไทย ลาว พม่า เวียดนาม มาเลเซีย สิงคโปร์ อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ บรูไน กัมพูชา
รวงข้าวมัดรวมกัน หมายถึง 10ประเทศรวมเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน (ติมอร์ กำลังจะเข้าร่วม)
สีของตราสัญลักษณ์
น้ำเงิน หมายถึง ความสามัคคี
แดง " ความกล้าหาญ
ขาว " ความบริสุทธิ์
เหลือง " ความเจริญรุ่งเรือง
****************************************
การคำนวณเกณฑ์อัตรากำลังครู ในโรงเรียน
20 คนลงมา = ครู 1 แล้วก็นับเพิ่มทีละ 20 ไปเรื่อยๆจนถึง 120 เพราะรร.ขนาดเล็ก นร.ไม่เกิน 120 คนค่ะ
20 = 1 / 40 = 2 / 60 = 3 / 80 = 4 / 100 = 5 / 120 = 6
การคิดจำนวนครูให้ปัดเศษตามหลักคณิตศาสตร์
ครู 1 ต่อนักเรียน = ก่อน 25 / ถม 25 / ยม 20
แถมการคิดจำนวนห้องเรียนให้ด้วย
1 ห้อง ต่อนักเรียน = ก่อน 30 / ถม 40 / ยม 40
**เศษ 10 เพิ่มเป็น 1 ห้อง
**************************************
ขนาดโรงเรียน
โรงเรียนที่มีนักเรียนตั้งแต่ 1 - 499 คน (ขนาดเล็ก)
โรงเรียนที่มีนักเรียนตั้งแต่ 500 - 1499 คน (ขนาดกลาง)
โรงเรียนที่มีนักเรียนตั้งแต่ 1500 - 2499 คน (ขนาดใหญ่)
โรงเรียนที่มีนักเรียนตั้งแต่ 2,500คน (ขนาดใหญ่พิเศษ)
****************************************
เงินเดือน ต่ำสุด สูงสุด
เงินเดือนขั้นต่ำ ครูผู้ช่วย 9140 สูงสุด 17690 มี 14 ขั้น
เงินเดือนขั้นต่ำ ครูคศ.1 12530 สูงสุด 31190 มี 21 ขั้น
เงินเดือนขั้นต่ำ ครูคศ.2 16190 สูงสุด 37830 มี 20 ขั้น
เงินเดือนขั้นต่ำ ครูคศ.3 19,860 สูงสุด 53,080 มี 24 ขั้น
เงินเดือนขั้นต่ำ ครูคศ.4 24,400 สูงสุด 62,760 มี 23 ขั้น
เงินเดือนขั้นต่ำ ครูคศ.5 29,980 สูงสุด 69,810 มี 19 ขั้น
- เงินกู้ กรอ.ซึ่งจะมาแทนเงิน กู้ กยศ. และเริ่มปล่อยกู้ตั้งแต่ 2555 นั้น จะไม่มีการจำกัดสาขาวิชาปล่อยกู้ ไม่เหมือนกับเงินกู้ กยศ. ที่ปล่อยกู้เฉพาะสาขาขาดแคลน
- สำหรับการปล่อยกู้ กรอ.จะปล่อยกู้เฉพาะระดับอุดมศึก
- รายการเงินกู้ กรอ. ตอบ ค่าเล่าเรียน ค่าครองชีพ และค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวข้อง (ครอบครัวมีรายได้ไม่เกิน ๒๐๐,๐๐ บาทต่อปี ก็จะให้ค่าครองชีพ)
กรอ.เป็นการให้ทุนการศึกษา ชำระคืนภายหลังมีงานทำและมีรายได้ (ตอบ) 16,000 บาท
************************************************
5 ฟรี เรียนดีอย่างมีคุณภาพ ตั้งแต่อนุบาลจนจบ ม.๖
(ฟรี ค่าเล่าเรียน ฟรี ค่าเครื่องแบบ ฟรี ค่าอุปกรณ์การเรียน ฟรี ค่าหนังสือเรียน ฟรี ค่ากิจกรรม)
************************************************
การออกจากราชการ (มาตรา 197)
1. ตาย
2. พ้นจากตำแหน่งตามกฎหมายว่าด้วยบำเหน็จบำนาญ
3. ลาออกและได้รับอนุญาตให้ลาออก
4. ถูกสั่งให้ออกจากราชการ
5. ถูกสั่งลงโทษปลดออก หรือ ไล่ออก
6. ถูกเพิกถอนใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ เว้นแต่ได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งอื่นที่ไม่ต้องมีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ
*************************************************
Fix-it Center ศูนย์ซ่อมสร้างประจำชุมชน เพื่อฝึกฝนทักษะอาชีพให้นักเรียนอาชีวศึกษาและให้บริการประชาชน
*************************************************
มาสคอต ก๊ฬาโอลิมปิก และ พาราลิมปิก 2012 (ตอบ) เวนล็อค และ แมนเดวิลล์
************************************************
สัดส่วนการบรรจุครูทุกประเภทในอนาคต
(ตอบ) ครูมืออาชีพและทุนอื่นๆ 35 % ครูอัตราจ้างที่รอบรรจุ 25 % และครูทั่วไป 40 %
***************************************************
กยศ. ใช้กับการศึกษาระดับใด กี่รายการ (ตอบ) ม.4-5-6 และ ปวช. ใช้กับ ค่าเล่าเรียนและค่าเครื่องอุปกรณ์การเรียน
***************************************************
สายด่วนกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี (ตอบ) 1111 กด 6
***************************************
ชื่อโครงการที่ ครม.อนุมัติ ให้ ศพส.จัดเฉลิมพระชนมพรรษาพระราชินี 80 พรรษาปี 255
(ตอบ) "โครงการหมู่บ้านกองทุนแม่ของแผ่นดินเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา มหาราชินี"
*****************************************
คุณสมบัติ 1 อำเภอ 1 ทุน (ตอบ) สัญชาติไทย อายุไม่เกิน 25 ปี จบ ม.6/เทียบเท่า เกรดเฉลี่ย 3.0 ขึ้น มีภูมิลำเนาตามทะเบียนราษฎร์ ไม่น้อยกว่า 6 เดือน
******************************************
1. ค่าขึ้นทะเบียนรับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพครู ฉบับละ 500 บาท
2. ค่าขึ้นทะเบียนรับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพผู้บริหารสถานศึกษา ฉบับละ 500 บาท
3. ค่าขึ้นทะเบียนรับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพผู้บริหารการศึกษา ฉบับละ 500 บาท
4. ค่าขึ้นทะเบียนรับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพควบคุมอื่น ฉบับละ 500 บาท
5. ค่าต่อใบอนุญาตประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ครั้งละ 200 บาท
6. ค่าหนังสือรับรองการขึ้นทะเบียนผู้ประกอบวิชาชีพ ฉบับละ 300 บาท
7. ค่าหนังสืออนุมัติหรือวุฒิบัตรแสดงความรู้ ความชำนาญ ฉบับละ 400 บาท
8. ค่าใบแทนใบอนุญาต ฉบับละ 200 บาท
ย่อ ขึ้น 5 ต่อ 2 รอง 3 บัตร 4 แทน 2
***************************************
อาเซียน มี 10ประเทศได้แก่
ไทย ลาว พม่า เวียดนาม มาเลเซีย สิงคโปร์ อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ บรูไน กัมพูชา
รวงข้าวมัดรวมกัน หมายถึง 10ประเทศรวมเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน (ติมอร์ กำลังจะเข้าร่วม)
สีของตราสัญลักษณ์
น้ำเงิน หมายถึง ความสามัคคี
แดง " ความกล้าหาญ
ขาว " ความบริสุทธิ์
เหลือง " ความเจริญรุ่งเรือง
****************************************
การคำนวณเกณฑ์อัตรากำลังครู ในโรงเรียน
20 คนลงมา = ครู 1 แล้วก็นับเพิ่มทีละ 20 ไปเรื่อยๆจนถึง 120 เพราะรร.ขนาดเล็ก นร.ไม่เกิน 120 คนค่ะ
20 = 1 / 40 = 2 / 60 = 3 / 80 = 4 / 100 = 5 / 120 = 6
การคิดจำนวนครูให้ปัดเศษตามหลักคณิตศาสตร์
ครู 1 ต่อนักเรียน = ก่อน 25 / ถม 25 / ยม 20
แถมการคิดจำนวนห้องเรียนให้ด้วย
1 ห้อง ต่อนักเรียน = ก่อน 30 / ถม 40 / ยม 40
**เศษ 10 เพิ่มเป็น 1 ห้อง
**************************************
ขนาดโรงเรียน
โรงเรียนที่มีนักเรียนตั้งแต่ 1 - 499 คน (ขนาดเล็ก)
โรงเรียนที่มีนักเรียนตั้งแต่ 500 - 1499 คน (ขนาดกลาง)
โรงเรียนที่มีนักเรียนตั้งแต่ 1500 - 2499 คน (ขนาดใหญ่)
โรงเรียนที่มีนักเรียนตั้งแต่ 2,500คน (ขนาดใหญ่พิเศษ)
****************************************
เงินเดือน ต่ำสุด สูงสุด
เงินเดือนขั้นต่ำ ครูผู้ช่วย 9140 สูงสุด 17690 มี 14 ขั้น
เงินเดือนขั้นต่ำ ครูคศ.1 12530 สูงสุด 31190 มี 21 ขั้น
เงินเดือนขั้นต่ำ ครูคศ.2 16190 สูงสุด 37830 มี 20 ขั้น
เงินเดือนขั้นต่ำ ครูคศ.3 19,860 สูงสุด 53,080 มี 24 ขั้น
เงินเดือนขั้นต่ำ ครูคศ.4 24,400 สูงสุด 62,760 มี 23 ขั้น
เงินเดือนขั้นต่ำ ครูคศ.5 29,980 สูงสุด 69,810 มี 19 ขั้น
โครงการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ หรือ PISA
โครงการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ หรือ PISA
(Programme for International Student Assessment)
วัตถุประสงค์ของโครงการ
1. เพื่อต้องการหาตัวชี้วัดคุณภาพการศึกษาให้แก่ประเทศสมาชิกและประเทศร่วมโครงการ PISA
2. ประเมินถึงศักยภาพในการใช้ความรู้ของนักเรียนวัยจบการศึกษาภาคบังคับ
ประเทศไทยเข้าร่วมโครงการ PISA ตั้งแต่ปี 2543 ซึ่งในกลุ่มอาเซียนมีประเทศที่เข้าร่วม 3 ประเทศคือ ไทย อินโดนีเซียและสิงคโปร์ โดยมีจุดมุ่งหมายสำคัญคือ ตรวจสอบว่าเยาวชนที่จบการศึกษาภาคบังคับ หรืออายุ 15 ปี ของประเทศต่างๆ มีศักยภาพหรือความสามารถพื้นฐาน
ที่จะเป็นต่อการดำรงชีวิตในโลกที่มีการ เปลี่ยนแปลงหรือไม่ เพื่อความร่วมมือและ
พัฒนาทางเศรษฐกิจ(Organisation for Economic Co-operation and Development หรือOECD)
มีประเทศในโครงการทั้งหมด 65 ประเทศ
การประเมินผลนักเรียนในโครงการนี้ จะดำเนินการทุกๆ 3 ปี โดยประเทศไทยเข้าร่วมโครงการ PISA มาแล้ว 4 ครั้ง
PISA ประเมินสมรรถนะที่เรียกว่า Literacy ซึ่งในที่นี้จะใช้คำว่า “การรู้เรื่อง” และ PISA เลือกประเมินการรู้เรื่องในสามด้าน ได้แก่ การรู้เรื่องการอ่าน (Reading Literacy) การรู้เรื่องคณิตศาสตร์ (Mathematical Literacy) และการรู้เรื่องวิทยาศาสตร์ (Scientific Literacy) PISA ได้แบ่งการประเมินออกเป็น 2 รอบ กล่าวคือ รอบที่ 1 (Phase I: PISA 2000 PISA 2003 และ PISA 2006) และรอบที่ 2 (Phase II: PISA 2009 PISA 2012 และ PISA 2015) ในการประเมินผลนักเรียนจะวัดความรู้ทั้ง 3 ด้าน แต่จะเน้นหนักในด้านใดด้านหนึ่งในการประเมินแต่ละระยะ กล่าวคือ
1) การประเมินผลระยะที่ 1 (PISA 2000 และ PISA 2009) เน้นด้านการอ่าน (มีน้ำหนักข้อสอบด้านการอ่าน 60% และที่เหลือเป็นด้าน คณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์อย่างละ 20%)
2) การประเมินผลระยะที่ 2 (PISA 2003 และ PISA 2012) เน้นด้านคณิตศาสตร์ (น้ำหนักข้อสอบด้านคณิตศาสตร์ 60% และด้านการอ่านและวิทยาศาสตร์อย่างละ 20%)
3) การประเมินผลระยะที่ 3 (PISA 2006 และ PISA 2015) เน้นด้านวิทยาศาสตร์ (น้ำหนักข้อสอบด้านวิทยาศาสตร์ 60% และด้านการอ่านและคณิตศาสตร์อย่างละ 20%)
ที่มา
http://sites.google.com/site/acadedmsu/khxsxb-pisa
http://pisathailand.ipst.ac.th/
(Programme for International Student Assessment)
วัตถุประสงค์ของโครงการ
1. เพื่อต้องการหาตัวชี้วัดคุณภาพการศึกษาให้แก่ประเทศสมาชิกและประเทศร่วมโครงการ PISA
2. ประเมินถึงศักยภาพในการใช้ความรู้ของนักเรียนวัยจบการศึกษาภาคบังคับ
ประเทศไทยเข้าร่วมโครงการ PISA ตั้งแต่ปี 2543 ซึ่งในกลุ่มอาเซียนมีประเทศที่เข้าร่วม 3 ประเทศคือ ไทย อินโดนีเซียและสิงคโปร์ โดยมีจุดมุ่งหมายสำคัญคือ ตรวจสอบว่าเยาวชนที่จบการศึกษาภาคบังคับ หรืออายุ 15 ปี ของประเทศต่างๆ มีศักยภาพหรือความสามารถพื้นฐาน
ที่จะเป็นต่อการดำรงชีวิตในโลกที่มีการ เปลี่ยนแปลงหรือไม่ เพื่อความร่วมมือและ
พัฒนาทางเศรษฐกิจ(Organisation for Economic Co-operation and Development หรือOECD)
มีประเทศในโครงการทั้งหมด 65 ประเทศ
การประเมินผลนักเรียนในโครงการนี้ จะดำเนินการทุกๆ 3 ปี โดยประเทศไทยเข้าร่วมโครงการ PISA มาแล้ว 4 ครั้ง
PISA ประเมินสมรรถนะที่เรียกว่า Literacy ซึ่งในที่นี้จะใช้คำว่า “การรู้เรื่อง” และ PISA เลือกประเมินการรู้เรื่องในสามด้าน ได้แก่ การรู้เรื่องการอ่าน (Reading Literacy) การรู้เรื่องคณิตศาสตร์ (Mathematical Literacy) และการรู้เรื่องวิทยาศาสตร์ (Scientific Literacy) PISA ได้แบ่งการประเมินออกเป็น 2 รอบ กล่าวคือ รอบที่ 1 (Phase I: PISA 2000 PISA 2003 และ PISA 2006) และรอบที่ 2 (Phase II: PISA 2009 PISA 2012 และ PISA 2015) ในการประเมินผลนักเรียนจะวัดความรู้ทั้ง 3 ด้าน แต่จะเน้นหนักในด้านใดด้านหนึ่งในการประเมินแต่ละระยะ กล่าวคือ
1) การประเมินผลระยะที่ 1 (PISA 2000 และ PISA 2009) เน้นด้านการอ่าน (มีน้ำหนักข้อสอบด้านการอ่าน 60% และที่เหลือเป็นด้าน คณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์อย่างละ 20%)
2) การประเมินผลระยะที่ 2 (PISA 2003 และ PISA 2012) เน้นด้านคณิตศาสตร์ (น้ำหนักข้อสอบด้านคณิตศาสตร์ 60% และด้านการอ่านและวิทยาศาสตร์อย่างละ 20%)
3) การประเมินผลระยะที่ 3 (PISA 2006 และ PISA 2015) เน้นด้านวิทยาศาสตร์ (น้ำหนักข้อสอบด้านวิทยาศาสตร์ 60% และด้านการอ่านและคณิตศาสตร์อย่างละ 20%)
ที่มา
http://sites.google.com/site/acadedmsu/khxsxb-pisa
http://pisathailand.ipst.ac.th/
วันพุธที่ 9 พฤษภาคม พ.ศ. 2555
สรุปพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการพ.ศ. ๒๕๔๖
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการพ.ศ. ๒๕๔๖
ให้ไว้ ณ วันที่ ๓ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๔๖เป็นปีที่ ๕๘ ในรัชกาลปัจจุบัน
ผู้รับสนองพระบรมราชโองการพันตำรวจโท ทักษิณ ชินวัตรนายกรัฐมนตรี
มาตรา ๕ กระทรวงศึกษาธิการมีอำนาจหน้าที่ตามกฎหมายว่าด้วยการศึกษาแห่งชาติ และกฎหมายว่าด้วยการปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม
มาตรา ๖ ให้จัดระเบียบราชการกระทรวงศึกษาธิการ ดังนี้
(๑) ระเบียบบริหารราชการในส่วนกลาง
(๒) ระเบียบบริหารราชการเขตพื้นที่การศึกษา
(๓) ระเบียบบริหารราชการในสถานศึกษาของรัฐที่จัดการศึกษาระดับปริญญาที่เป็นนิติบุคคล
การจัดระเบียบบริหารราชการในส่วนกลาง
มาตรา ๙ ให้จัดระเบียบบริหารราชการในส่วนกลาง ดังนี้
(๑) สำนักงานปลัดกระทรวง
(๒) ส่วนราชการที่มีหัวหน้าส่วนราชการขึ้นตรงต่อรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
มาตรา ๑๐ การแบ่งส่วนราชการในส่วนกลางของกระทรวงศึกษาธิการให้เป็นไปตามพระราช บัญญัตินี้ โดยให้มีหัวหน้าส่วนราชการขึ้นตรงต่อรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ดังนี้
(๑) สำนักงานรัฐมนตรี
(๒) สำนักงานปลัดกระทรวง
(๓) สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา
(๔) สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
(๕) สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา
(๖) สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
ส่วนราชการตาม (๒) (๓) (๔) (๕) และ (๖) มีฐานะเป็นนิติบุคคลและเป็นกรมตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน
มาตรา ๑๒ กระทรวงศึกษาธิการมีรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการเป็นผู้บังคับบัญชา ข้าราชการและกำหนดนโยบาย เป้าหมาย และผลสัมฤทธิ์ของงานในกระทรวงศึกษาธิการ
มาตรา ๑๔ ให้มีสภาการศึกษา มีหน้าที่
(๑) พิจารณาเสนอแผนการศึกษาแห่งชาติที่บูรณาการศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม และกีฬากับการศึกษาทุกระดับ
(๒) พิจารณาเสนอนโยบาย แผน และมาตรฐานการศึกษาให้ดำเนินการเป็นไปตามแผนตาม (๑)
(๓) พิจารณาเสนอนโยบายและแผนในการสนับสนุนทรัพยากรเพื่อการศึกษา
(๔) ดำเนินการประเมินผลการจัดการศึกษาตาม (๑)
(๕) ให้ความเห็นหรือคำแนะนำในเรื่องกฎหมายและกฎกระทรวงที่เกี่ยวกับการศึกษา
การเสนอนโยบาย แผนการศึกษาแห่งชาติ และมาตรฐานการศึกษา ให้เสนอต่อคณะรัฐมนตรี
************************************************
มาตรา ๑๕ ให้มีคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีหน้าที่พิจารณาเสนอนโยบายแผนพัฒนา มาตรฐาน และหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
************************************************
ให้ คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ประกอบด้วย
กรรมการโดยตำแหน่งจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ผู้แทนองค์กรเอกชน
ผู้แทนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ผู้แทนองค์กรวิชาชีพ และ
กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ
การจัดระเบียบบริหารราชการเขตพื้นที่การศึกษา
มาตรา ๓๔ ให้จัดระเบียบบริหารราชการของเขตพื้นที่การศึกษา ดังนี้
(๑) สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
(๒) สถานศึกษาที่จัดการศึกษาขั้นพื้นฐานหรือส่วนราชการที่เรียกชื่ออย่างอื่น
คณะ กรรมการเขตพื้นที่การศึกษาประกอบด้วย ผู้แทนองค์กรชุมชน ผู้แทนองค์กรเอกชน ผู้แทนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ผู้แทนสมาคมผู้ประกอบวิชาชีพครู ผู้แทนสมาคมผู้ประกอบวิชาชีพบริหารการศึกษา ผู้แทนสมาคมผู้ปกครองและครู และผู้ทรงคุณวุฒิด้านการศึกษา ศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรม
มาตรา ๓๗ ให้มีสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา เพื่อทำหน้าที่ ดังนี้
(๑) อำนาจ หน้าที่ในการบริหารและการจัดการศึกษา และพัฒนาสาระของหลักสูตรการศึกษาให้ สอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานของสำนักงานคณะกรรมการการ ศึกษาขั้นพื้นฐาน
(๒) อำนาจหน้าที่ในการพัฒนางานด้านวิชาการและจัดให้มีระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาร่วมกับสถานศึกษา
(๓) รับผิดชอบในการพิจารณาแบ่งส่วนราชการภายในสถานศึกษาของสถานศึกษาและสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
(๔) ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่กฎหมายกำหนด
มาตรา ๓๙ ผู้อำนวยการสถานศึกษา มีอำนาจหน้าที่ ดังนี้
(๑) บริหาร กิจการของสถานศึกษา
(๒) ประสาน การระดมทรัพยากรเพื่อการศึกษา
(๓) เป็น ผู้แทนของสถานศึกษาหรือส่วนราชการในกิจการทั่วไป
(๔) จัดทำรายงานประจำปีเกี่ยวกับกิจการของสถานศึกษา
(๕) อำนาจหน้าที่ในการอนุมัติประกาศนียบัตรและวุฒิบัตรของสถานศึกษา
(๖) ปฏิบัติ งานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย
การปฏิบัติราชการแทน
มาตรา ๔๕ อำนาจในการสั่ง การอนุญาต การอนุมัติ การปฏิบัติราชการ ผู้ดำรงตำแหน่งนั้นอาจมอบอำนาจให้ผู้ดำรงตำแหน่งอื่นปฏิบัติราชการแทนได้ โดยคำนึงถึงความเป็นอิสระ การบริหารงานที่คล่องตัวในการจัดการศึกษาของสถานศึกษาการมอบอำนาจตามมาตรานี้ให้ทำเป็นหนังสือเมื่อได้ได้มอบ อำนาจแล้ว ผู้มอบอำนาจมีหน้าที่กำกับติดตามผลการปฏิบัติราชการของผู้รับมอบอำนาจและให้ มีอำนาจแนะนำและแก้ไขการปฏิบัติราชการของผู้รับมอบอำนาจได้
การรักษาราชการแทน
มาตรา ๔๘ ในกรณีที่ไม่มีผู้ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ หรือมีแต่ไม่อาจปฏิบัติราชการได้ ให้รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการเป็นผู้รักษาราชการแทน
มาตรา ๕๔ ในกรณีที่ไม่มีผู้ดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการสถานศึกษา หรือมีแต่ไม่อาจปฏิบัติราชการได้ ให้รองผู้อำนวยการสถานศึกษารักษาราชการแทน ถ้ามีรองผู้อำนวยการสถานศึกษาหลายคน ให้ผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาแต่งตั้งรองผู้อำนวยการสถานศึกษา คนใดคนหนึ่งรักษาราชการแทน ถ้าไม่มีผู้ดำรงตำแหน่งรองผู้อำนวยการสถานศึกษา หรือมีแต่ไม่อาจปฏิบัติราชการได้ ให้ผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาแต่งตั้งข้าราชการในสถานศึกษาคนใด คนหนึ่งเป็นผู้รักษาราชการแทนก็ได้
ให้ไว้ ณ วันที่ ๓ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๔๖เป็นปีที่ ๕๘ ในรัชกาลปัจจุบัน
ผู้รับสนองพระบรมราชโองการพันตำรวจโท ทักษิณ ชินวัตรนายกรัฐมนตรี
มาตรา ๕ กระทรวงศึกษาธิการมีอำนาจหน้าที่ตามกฎหมายว่าด้วยการศึกษาแห่งชาติ และกฎหมายว่าด้วยการปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม
มาตรา ๖ ให้จัดระเบียบราชการกระทรวงศึกษาธิการ ดังนี้
(๑) ระเบียบบริหารราชการในส่วนกลาง
(๒) ระเบียบบริหารราชการเขตพื้นที่การศึกษา
(๓) ระเบียบบริหารราชการในสถานศึกษาของรัฐที่จัดการศึกษาระดับปริญญาที่เป็นนิติบุคคล
การจัดระเบียบบริหารราชการในส่วนกลาง
มาตรา ๙ ให้จัดระเบียบบริหารราชการในส่วนกลาง ดังนี้
(๑) สำนักงานปลัดกระทรวง
(๒) ส่วนราชการที่มีหัวหน้าส่วนราชการขึ้นตรงต่อรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
มาตรา ๑๐ การแบ่งส่วนราชการในส่วนกลางของกระทรวงศึกษาธิการให้เป็นไปตามพระราช บัญญัตินี้ โดยให้มีหัวหน้าส่วนราชการขึ้นตรงต่อรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ดังนี้
(๑) สำนักงานรัฐมนตรี
(๒) สำนักงานปลัดกระทรวง
(๓) สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา
(๔) สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
(๕) สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา
(๖) สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
ส่วนราชการตาม (๒) (๓) (๔) (๕) และ (๖) มีฐานะเป็นนิติบุคคลและเป็นกรมตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน
มาตรา ๑๒ กระทรวงศึกษาธิการมีรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการเป็นผู้บังคับบัญชา ข้าราชการและกำหนดนโยบาย เป้าหมาย และผลสัมฤทธิ์ของงานในกระทรวงศึกษาธิการ
มาตรา ๑๔ ให้มีสภาการศึกษา มีหน้าที่
(๑) พิจารณาเสนอแผนการศึกษาแห่งชาติที่บูรณาการศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม และกีฬากับการศึกษาทุกระดับ
(๒) พิจารณาเสนอนโยบาย แผน และมาตรฐานการศึกษาให้ดำเนินการเป็นไปตามแผนตาม (๑)
(๓) พิจารณาเสนอนโยบายและแผนในการสนับสนุนทรัพยากรเพื่อการศึกษา
(๔) ดำเนินการประเมินผลการจัดการศึกษาตาม (๑)
(๕) ให้ความเห็นหรือคำแนะนำในเรื่องกฎหมายและกฎกระทรวงที่เกี่ยวกับการศึกษา
การเสนอนโยบาย แผนการศึกษาแห่งชาติ และมาตรฐานการศึกษา ให้เสนอต่อคณะรัฐมนตรี
************************************************
มาตรา ๑๕ ให้มีคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีหน้าที่พิจารณาเสนอนโยบายแผนพัฒนา มาตรฐาน และหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
************************************************
ให้ คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ประกอบด้วย
กรรมการโดยตำแหน่งจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ผู้แทนองค์กรเอกชน
ผู้แทนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ผู้แทนองค์กรวิชาชีพ และ
กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ
การจัดระเบียบบริหารราชการเขตพื้นที่การศึกษา
มาตรา ๓๔ ให้จัดระเบียบบริหารราชการของเขตพื้นที่การศึกษา ดังนี้
(๑) สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
(๒) สถานศึกษาที่จัดการศึกษาขั้นพื้นฐานหรือส่วนราชการที่เรียกชื่ออย่างอื่น
คณะ กรรมการเขตพื้นที่การศึกษาประกอบด้วย ผู้แทนองค์กรชุมชน ผู้แทนองค์กรเอกชน ผู้แทนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ผู้แทนสมาคมผู้ประกอบวิชาชีพครู ผู้แทนสมาคมผู้ประกอบวิชาชีพบริหารการศึกษา ผู้แทนสมาคมผู้ปกครองและครู และผู้ทรงคุณวุฒิด้านการศึกษา ศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรม
มาตรา ๓๗ ให้มีสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา เพื่อทำหน้าที่ ดังนี้
(๑) อำนาจ หน้าที่ในการบริหารและการจัดการศึกษา และพัฒนาสาระของหลักสูตรการศึกษาให้ สอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานของสำนักงานคณะกรรมการการ ศึกษาขั้นพื้นฐาน
(๒) อำนาจหน้าที่ในการพัฒนางานด้านวิชาการและจัดให้มีระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาร่วมกับสถานศึกษา
(๓) รับผิดชอบในการพิจารณาแบ่งส่วนราชการภายในสถานศึกษาของสถานศึกษาและสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
(๔) ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่กฎหมายกำหนด
มาตรา ๓๙ ผู้อำนวยการสถานศึกษา มีอำนาจหน้าที่ ดังนี้
(๑) บริหาร กิจการของสถานศึกษา
(๒) ประสาน การระดมทรัพยากรเพื่อการศึกษา
(๓) เป็น ผู้แทนของสถานศึกษาหรือส่วนราชการในกิจการทั่วไป
(๔) จัดทำรายงานประจำปีเกี่ยวกับกิจการของสถานศึกษา
(๕) อำนาจหน้าที่ในการอนุมัติประกาศนียบัตรและวุฒิบัตรของสถานศึกษา
(๖) ปฏิบัติ งานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย
การปฏิบัติราชการแทน
มาตรา ๔๕ อำนาจในการสั่ง การอนุญาต การอนุมัติ การปฏิบัติราชการ ผู้ดำรงตำแหน่งนั้นอาจมอบอำนาจให้ผู้ดำรงตำแหน่งอื่นปฏิบัติราชการแทนได้ โดยคำนึงถึงความเป็นอิสระ การบริหารงานที่คล่องตัวในการจัดการศึกษาของสถานศึกษาการมอบอำนาจตามมาตรานี้ให้ทำเป็นหนังสือเมื่อได้ได้มอบ อำนาจแล้ว ผู้มอบอำนาจมีหน้าที่กำกับติดตามผลการปฏิบัติราชการของผู้รับมอบอำนาจและให้ มีอำนาจแนะนำและแก้ไขการปฏิบัติราชการของผู้รับมอบอำนาจได้
การรักษาราชการแทน
มาตรา ๔๘ ในกรณีที่ไม่มีผู้ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ หรือมีแต่ไม่อาจปฏิบัติราชการได้ ให้รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการเป็นผู้รักษาราชการแทน
มาตรา ๕๔ ในกรณีที่ไม่มีผู้ดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการสถานศึกษา หรือมีแต่ไม่อาจปฏิบัติราชการได้ ให้รองผู้อำนวยการสถานศึกษารักษาราชการแทน ถ้ามีรองผู้อำนวยการสถานศึกษาหลายคน ให้ผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาแต่งตั้งรองผู้อำนวยการสถานศึกษา คนใดคนหนึ่งรักษาราชการแทน ถ้าไม่มีผู้ดำรงตำแหน่งรองผู้อำนวยการสถานศึกษา หรือมีแต่ไม่อาจปฏิบัติราชการได้ ให้ผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาแต่งตั้งข้าราชการในสถานศึกษาคนใด คนหนึ่งเป็นผู้รักษาราชการแทนก็ได้
กฎหมายว่าด้วยการศึกษาแห่งชาติ
กฎหมายว่าด้วยการศึกษาแห่งชาติ
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติพ.ศ. ๒๕๔๒ ให้ไว้ ณ วันที่ ๑๔ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๔๒
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2545 ให้ไว้ ณ วันที่ 8 ธันวาคม พ.ศ.2545
ให้ไว้ ณ วันที่ 14 สิงหาคม พ.ศ. 2542 เป็นปีที่ 54 ในรัชกาลปัจจุบัน
ให้ไว้ ณ วันที่ 12 กรกฎาคม พ.ศ. 2553 เป็นปีที่ 65 ในรัชกาลปัจจุบัน
แบ่งเป็น 9 หมวด 1 บทเฉพาะกาล 78 มาตรา
ความมุ่งหมายและหลักการ
*มาตรา ๖ เพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบรูณ์ทั้งร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้ และคุณธรรม มีจริยธรรมและวัฒนธรรม
มาตรา ๗ ในกระบวนการเรียนรู้ต้องมุ่งปลูกฝังจิตสำนึกที่ถูกต้องเกี่ยวกับการเมืองการปกครอง
ในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
มาตรา ๘ การจัดการศึกษาให้ยึดหลักดังนี้
(๑) เป็นการศึกษาตลอดชีวิตสำหรับประชาชน
(๒) ให้สังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา
(๓) การพัฒนาสาระและกระบวนการเรียนรู้ให้เป็นไปอย่างต่อเนื่อง
สิทธิและหน้าที่ทางการศึกษา
มาตรา ๑๐ การจัดการศึกษา ต้องจัดให้บุคคลมีสิทธิและโอกาสเสมอกันในการรับการศึกษา
ขั้นพื้นฐานไม่น้อยกว่าสิบสองปี
ระบบการศึกษา
มาตรา ๑๕ การจัดการศึกษามีสามรูปแบบ คือ การศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และ
การศึกษาตามอัธยาศัย
มาตรา ๑๖ การศึกษาในระบบมีสองระดับ คือ การศึกษาขั้นพื้นฐาน และการศึกษาระดับ
อุดมศึกษา
มาตรา ๑๗ ให้มีการศึกษาภาคบังคับจำนวนเก้าปี โดยให้เด็กซึ่งมีอายุย่างเข้าปีที่เจ็ด
แนวการจัดการศึกษา
มาตรา 22 การจัดการศึกษาต้องยึดหลักว่า
**** ผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้
***** และถือว่าผู้เรียนมีความสำคัญที่สุด
มาตรา 23 การจัดการศึกษา ต้องเน้น
****ความสำคัญทั้งความรู้ คุณธรรม
****กระบวนการเรียนรู้ และ
****บูรณาการตามความเหมาะสมของแต่ละระดับการศึกษา
การบริหารและการจัดการศึกษาของรัฐ
มาตรา ๓๑ ให้กระทรวงมีอำนาจหน้าที่กำกับดูแลการศึกษาทุกระดับและทุกประเภท
สนับสนุนทรัพยากร ติดตามตรวจสอบและประเมินผล
มาตรา ๓๒ ให้กระทรวงมีองค์กรหลักในรูปสภา หรือในรูปคณะกรรมการจำนวนสี่องค์กร ได้แก่
สภาการศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรมแห่งชาติ
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
คณะกรรมการการอุดมศึกษา
คณะกรรมการการศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรา ๓๓ สภาการศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรมแห่งชาติ มีหน้าที่
*พิจารณาเสนอนโยบาย แผน และมาตรฐานการศึกษาของชาติ
*นโยบายและแผนด้านศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรม
*การสนับสนุนทรัพยากร
*การประเมินผลการจัดการศึกษา
*การดำเนินการด้านศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรม รวมทั้ง
*การพิจารณากลั่นกรองกฎหมายและกฎกระทรวง
มาตราที่ ๓๔ คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีหน้าที่
*พิจารณาเสนอนโยบาย แผนพัฒนา มาตรฐานและหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน การสนับสนุนทรัพยากร การติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน
มาตรา ๓๕ องค์ประกอบของคณะกรรมการตามมาตรา ๓๔ ประกอบด้วย กรรมการโดย
ตำแหน่งจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ผู้แทนองค์กรเอกชน/ ผู้แทนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น/ ผู้แทน
องค์กรวิชาชีพ และผู้ทรงคุณวุฒิ
มาตรฐานและการประกันคุณภาพการศึกษา
มาตรา ๔๗ ให้มีระบบการประกันคุณภาพการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา
ทุกระดับ ประกอบด้วย ระบบการประกันคุณภาพภายใน และระบบการประกันคุณภาพภายนอก
ครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา
มาตรา ๕๓ ให้มีองค์กรวิชาชีพครู ผู้บริหารสถานศึกษา และผู้บริหารการศึกษา มีฐานะเป็น
องค์กรอิสระภายใต้การบริหารของสภาวิชาชีพ
ให้ครู ผู้บริหารสถานศึกษา ผู้บริหารการศึกษา และบุคลากรทางการศึกษาอื่น ทั้งของรัฐ
และเอกชนต้องมีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ
ทรัพยากรและการลงทุนเพื่อการศึกษา
ให้รัฐและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ส่งเสริมและให้แรงจูงใจในการระดมทรัพยากร
ดังกล่าว โดยการสนับสนุน การอุดหนุนและใช้มาตรการลดหย่อนหรือยกเว้นภาษี ตามความเหมาะสม
และความจำเป็น
เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา
มาตรา ๖๓ รัฐต้องจัดสรรคลื่นความถี่ สื่อตัวนำและโครงสร้างพื้นฐานอื่นที่จำเป็นต่อการ
ส่งวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ วิทยุโทรคมนาคม และการสื่อสารในรูป
มาตรา ๖๔ รัฐต้องส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการผลิต และพัฒนาแบบเรียน ตำรา หนังสือ
ทางวิชาการ สื่อสิ่งพิมพ์อื่น วัสดุอุปกรณ์ และเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาอื่น
มาตรา ๖๕ ให้มีการพัฒนาบุคลากรทั้งด้านผู้ผลิต และผู้ใช้เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา
มาตรา ๖๖ ผู้เรียนมีสิทธิได้รับการพัฒนาขีดความสามารถในการใช้เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา
ในโอกาสแรกที่ทำได้ เพื่อให้มีความรู้และทักษะเพียงพอที่จะใช้เทคโนโลยีเพื่อการศึกษาในการแสวงหา
ความรู้ด้วยตนเองได้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต
*******************
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติพ.ศ. ๒๕๔๒ ให้ไว้ ณ วันที่ ๑๔ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๔๒
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2545 ให้ไว้ ณ วันที่ 8 ธันวาคม พ.ศ.2545
ให้ไว้ ณ วันที่ 14 สิงหาคม พ.ศ. 2542 เป็นปีที่ 54 ในรัชกาลปัจจุบัน
ให้ไว้ ณ วันที่ 12 กรกฎาคม พ.ศ. 2553 เป็นปีที่ 65 ในรัชกาลปัจจุบัน
แบ่งเป็น 9 หมวด 1 บทเฉพาะกาล 78 มาตรา
ความมุ่งหมายและหลักการ
*มาตรา ๖ เพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบรูณ์ทั้งร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้ และคุณธรรม มีจริยธรรมและวัฒนธรรม
มาตรา ๗ ในกระบวนการเรียนรู้ต้องมุ่งปลูกฝังจิตสำนึกที่ถูกต้องเกี่ยวกับการเมืองการปกครอง
ในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
มาตรา ๘ การจัดการศึกษาให้ยึดหลักดังนี้
(๑) เป็นการศึกษาตลอดชีวิตสำหรับประชาชน
(๒) ให้สังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา
(๓) การพัฒนาสาระและกระบวนการเรียนรู้ให้เป็นไปอย่างต่อเนื่อง
สิทธิและหน้าที่ทางการศึกษา
มาตรา ๑๐ การจัดการศึกษา ต้องจัดให้บุคคลมีสิทธิและโอกาสเสมอกันในการรับการศึกษา
ขั้นพื้นฐานไม่น้อยกว่าสิบสองปี
ระบบการศึกษา
มาตรา ๑๕ การจัดการศึกษามีสามรูปแบบ คือ การศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และ
การศึกษาตามอัธยาศัย
มาตรา ๑๖ การศึกษาในระบบมีสองระดับ คือ การศึกษาขั้นพื้นฐาน และการศึกษาระดับ
อุดมศึกษา
มาตรา ๑๗ ให้มีการศึกษาภาคบังคับจำนวนเก้าปี โดยให้เด็กซึ่งมีอายุย่างเข้าปีที่เจ็ด
แนวการจัดการศึกษา
มาตรา 22 การจัดการศึกษาต้องยึดหลักว่า
**** ผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้
***** และถือว่าผู้เรียนมีความสำคัญที่สุด
มาตรา 23 การจัดการศึกษา ต้องเน้น
****ความสำคัญทั้งความรู้ คุณธรรม
****กระบวนการเรียนรู้ และ
****บูรณาการตามความเหมาะสมของแต่ละระดับการศึกษา
การบริหารและการจัดการศึกษาของรัฐ
มาตรา ๓๑ ให้กระทรวงมีอำนาจหน้าที่กำกับดูแลการศึกษาทุกระดับและทุกประเภท
สนับสนุนทรัพยากร ติดตามตรวจสอบและประเมินผล
มาตรา ๓๒ ให้กระทรวงมีองค์กรหลักในรูปสภา หรือในรูปคณะกรรมการจำนวนสี่องค์กร ได้แก่
สภาการศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรมแห่งชาติ
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
คณะกรรมการการอุดมศึกษา
คณะกรรมการการศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรา ๓๓ สภาการศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรมแห่งชาติ มีหน้าที่
*พิจารณาเสนอนโยบาย แผน และมาตรฐานการศึกษาของชาติ
*นโยบายและแผนด้านศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรม
*การสนับสนุนทรัพยากร
*การประเมินผลการจัดการศึกษา
*การดำเนินการด้านศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรม รวมทั้ง
*การพิจารณากลั่นกรองกฎหมายและกฎกระทรวง
มาตราที่ ๓๔ คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีหน้าที่
*พิจารณาเสนอนโยบาย แผนพัฒนา มาตรฐานและหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน การสนับสนุนทรัพยากร การติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน
มาตรา ๓๕ องค์ประกอบของคณะกรรมการตามมาตรา ๓๔ ประกอบด้วย กรรมการโดย
ตำแหน่งจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ผู้แทนองค์กรเอกชน/ ผู้แทนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น/ ผู้แทน
องค์กรวิชาชีพ และผู้ทรงคุณวุฒิ
มาตรฐานและการประกันคุณภาพการศึกษา
มาตรา ๔๗ ให้มีระบบการประกันคุณภาพการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา
ทุกระดับ ประกอบด้วย ระบบการประกันคุณภาพภายใน และระบบการประกันคุณภาพภายนอก
ครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา
มาตรา ๕๓ ให้มีองค์กรวิชาชีพครู ผู้บริหารสถานศึกษา และผู้บริหารการศึกษา มีฐานะเป็น
องค์กรอิสระภายใต้การบริหารของสภาวิชาชีพ
ให้ครู ผู้บริหารสถานศึกษา ผู้บริหารการศึกษา และบุคลากรทางการศึกษาอื่น ทั้งของรัฐ
และเอกชนต้องมีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ
ทรัพยากรและการลงทุนเพื่อการศึกษา
ให้รัฐและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ส่งเสริมและให้แรงจูงใจในการระดมทรัพยากร
ดังกล่าว โดยการสนับสนุน การอุดหนุนและใช้มาตรการลดหย่อนหรือยกเว้นภาษี ตามความเหมาะสม
และความจำเป็น
เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา
มาตรา ๖๓ รัฐต้องจัดสรรคลื่นความถี่ สื่อตัวนำและโครงสร้างพื้นฐานอื่นที่จำเป็นต่อการ
ส่งวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ วิทยุโทรคมนาคม และการสื่อสารในรูป
มาตรา ๖๔ รัฐต้องส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการผลิต และพัฒนาแบบเรียน ตำรา หนังสือ
ทางวิชาการ สื่อสิ่งพิมพ์อื่น วัสดุอุปกรณ์ และเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาอื่น
มาตรา ๖๕ ให้มีการพัฒนาบุคลากรทั้งด้านผู้ผลิต และผู้ใช้เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา
มาตรา ๖๖ ผู้เรียนมีสิทธิได้รับการพัฒนาขีดความสามารถในการใช้เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา
ในโอกาสแรกที่ทำได้ เพื่อให้มีความรู้และทักษะเพียงพอที่จะใช้เทคโนโลยีเพื่อการศึกษาในการแสวงหา
ความรู้ด้วยตนเองได้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต
*******************
หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
หลักปรัชญา
"3 ห่วง 2 เงื่อนไข" ซึ่งประกอบด้วยความ "พอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุ้มกัน" บนเงื่อนไข "ความรู้" และ "คุณธรรม"
อธิบายถึงการพัฒนาตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง ว่า เป็นการพัฒนาที่ตั้งอยู่บนพื้นฐานของทางสายกลางและความไม่ประมาท โดยคำนึงถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล และการสร้างภูมิคุ้มกันที่ดีในตัวตลอดจนการใช้ความรู้ ความรอบคอบละคุณธรรมประกอบการวางแผน การตัดสินใจและการกระทำต่างๆ
ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดี ที่ไม่มากและไม่น้อยจนเกินไป ไม่เบียดเบียนตนเองและผู้อื่น เช่น การผลิตและการบริโภคที่พอประมาณ
ความมีเหตุผล หมายถึง การใช้หลักเหตุผลในการตัดสินใจเรื่องต่างๆ โดยพิจารณาจากเหตุปัจจัยที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้นอย่างรอบคอบ
การมีภูมิคุ้มกันที่ดี หมายถึง การเตรียมตัวให้พร้อมรับต่อผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงรอบตัว ปัจจัยเหล่านี้จะเกิดขึ้นได้นั้น จะต้องอาศัยความรู้ และคุณธรรม เป็นเงื่อนไขพื้นฐาน กล่าวคือ
เงื่อนไขความรู้ หมายถึง ความรอบรู้ ความรอบคอบ และความระมัดระวังในการดำเนินชีวิตและการประกอบการงาน
เงื่อนไขคุณธรรม คือ การยึดถือคุณธรรมต่างๆ อาทิ ความซื่อสัตย์สุจริต ความอดทน ความเพียร การมุ่งต่อประโยชน์ส่วนรวมและการแบ่งปัน ฯลฯ ตลอดเวลาที่ประยุกต์ใช้ปรัชญา
หลักปรัชญา
"3 ห่วง 2 เงื่อนไข" ซึ่งประกอบด้วยความ "พอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุ้มกัน" บนเงื่อนไข "ความรู้" และ "คุณธรรม"
อธิบายถึงการพัฒนาตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง ว่า เป็นการพัฒนาที่ตั้งอยู่บนพื้นฐานของทางสายกลางและความไม่ประมาท โดยคำนึงถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล และการสร้างภูมิคุ้มกันที่ดีในตัวตลอดจนการใช้ความรู้ ความรอบคอบละคุณธรรมประกอบการวางแผน การตัดสินใจและการกระทำต่างๆ
ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดี ที่ไม่มากและไม่น้อยจนเกินไป ไม่เบียดเบียนตนเองและผู้อื่น เช่น การผลิตและการบริโภคที่พอประมาณ
ความมีเหตุผล หมายถึง การใช้หลักเหตุผลในการตัดสินใจเรื่องต่างๆ โดยพิจารณาจากเหตุปัจจัยที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้นอย่างรอบคอบ
การมีภูมิคุ้มกันที่ดี หมายถึง การเตรียมตัวให้พร้อมรับต่อผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงรอบตัว ปัจจัยเหล่านี้จะเกิดขึ้นได้นั้น จะต้องอาศัยความรู้ และคุณธรรม เป็นเงื่อนไขพื้นฐาน กล่าวคือ
เงื่อนไขความรู้ หมายถึง ความรอบรู้ ความรอบคอบ และความระมัดระวังในการดำเนินชีวิตและการประกอบการงาน
เงื่อนไขคุณธรรม คือ การยึดถือคุณธรรมต่างๆ อาทิ ความซื่อสัตย์สุจริต ความอดทน ความเพียร การมุ่งต่อประโยชน์ส่วนรวมและการแบ่งปัน ฯลฯ ตลอดเวลาที่ประยุกต์ใช้ปรัชญา
สรุปนโยบาย รมต.สุชาติ ธาดาธำรงเวช
นโยบาย รมต.สุชาติ ธาดาธำรงเวช (ศ.ดร.สุชาติ ธาดาธำรงเวช)
ปรัชญา
เน้นปรัชญา “ความเท่าเทียมและการนำเทคโนโลยี” จัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน “ที่มีคุณภาพสำหรับเยาวชนทุกคนทุกพื้นที่ “จัดการอุดมศึกษาโดย “ปั้นนักศึกษาไทยให้เป็นมืออาชีพ”
นโยบาย
1. จัดการศึกษาที่มีคุณภาพสำหรับเยาวชนทุกคน
2. ปั้นนักศึกษาไทยให้เป็นมืออาชีพ
การขยายโอกาสทางการศึกษา 4 ด้าน
1. โอกาสในการเข้าถึงทรัพยากร
1.1. โครงการ One Tablet Per Child
1.2. สร้างห้องการเรียนรู้ ครูเปิดสอนพิเศษรัฐจ่ายเงินให้ ซื้อซอฟต์แวร์ e-book เกิด e-learnning เพื่อสร้าง knowledge Based Society
1.3. โครงการ e=Education เพื่อให้โรงเรียนเป็นศูนย์การเรียนรู้ตลอดชีวิต ส่งเสริมการศึกษาที่มีประสิทธิภาพสูงตรงกับความต้องการที่แท้จริง
1.4. โครงการโรงเรียนประถมศึกษาและมัธยมศึกษาในฝันสู่อุดมศึกษาชั้นยอด ให้มีคณะกรรมการโรงเรียน School Board
1.5. โครงการพลังครู พัฒนาศักยภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา แก้ไขปัญหาหนึ้สินครู โดยลดรายจ่าย เพิ่มรายได้ ขยายโอกาส
1.6. โครงการศูนย์การศึกษานานาชาติ
1.7. หนึ่งโรงเรียนหนึ่งพยาบาล
1.8. โรงเรียนตัวอย่างทุกอำเภอ พัฒนาศักยภาพของโรงเรียนให้เป็นเลิศ โดยใช้การติดต่อสื่อสารด้วยวิทยาการสมัยใหม่
2. โอกาสในการเข้าถึงแหล่งทุน เข้าเรียนได้โดยไม่ต้องกังวลในเรื่องทุนการศึกษา
1.1. Smaart Card เพื่อการศึกษาขั้นพื้นฐาน
1.2. โครงการเรียนก่อนผ่อนทีหลัง ส่งคืนเมื่อมีรายได้ Income Contigency Loan Program
1.3. โครงการสานฝันนักเรียนไปเรียนต่างประเทศ (โครงการหนึ่งอำเภอหนึ่งทุน)
1.4. กองทุนตั้งตัวได้
3. โอกาสในการเพิ่มพูนและฝึกฝนทักษะนักเรียนทุกคนสามารถเติบโตได้ในโลกที่เป็นจริง เรียนรู้บนการทำกิจกรรม Activity Based Learnning
1.1. ส่งเสริมอาชีวศึกษา ให้ความสำคัญมากขึ้น ให้ความรู้ทางปฏิบัติ อย่างแท้จริง
1.2. ศูนย์ซ่อมสร้างเพื่อชุมชน Fix It Center
1.3. โครงการอัจฉริยะสร้างได้ ค้นหาความสามารถของตนเองทุกสาขา
1.4. โครงการ 1 ดนตรี 1 กีฬา 2 ภาษา อังกฤษ จีน คณิต วิทย์
1.5. ปรับปรุงหลักสูตรเลิกการท่องจำ ใช้การเรียนรู้
1.6. คนไทยอายุ 25 ปีสามารถเทียบความรู้จบชั้น ม.6 ได้
1.7. สถาบันการศึกษา ราชภัฎและอาชีวะศึกษา ค้นหาความสามารถของตนเอง ให้ความสำคัญมากขึ้นและมีความรู้ปฏิบัติอย่างแท้จริง
1.8. จัดศูนย์ฝึกอบรม จัดศูนย์ฝึกในอาชีวะศึกษา ให้คนไทยเรียนรู้ พัฒนาทักษะให้คนไทยชำนาญในแต่ละสาขา
4. โอกาสในการเรียนรู้ตลอดชีวิต
1.1. อินเทอร์เน็ตตำบล อินเทอร์เน็ตหมู่บ้าน
1.2. สถานที่รวมกลุ่มอย่างสร้างสรรค์แก่เด็กวัยเรียนโดยมีคอมพิวเตอร์ไว้ใช้
ปรัชญา
เน้นปรัชญา “ความเท่าเทียมและการนำเทคโนโลยี” จัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน “ที่มีคุณภาพสำหรับเยาวชนทุกคนทุกพื้นที่ “จัดการอุดมศึกษาโดย “ปั้นนักศึกษาไทยให้เป็นมืออาชีพ”
นโยบาย
1. จัดการศึกษาที่มีคุณภาพสำหรับเยาวชนทุกคน
2. ปั้นนักศึกษาไทยให้เป็นมืออาชีพ
การขยายโอกาสทางการศึกษา 4 ด้าน
1. โอกาสในการเข้าถึงทรัพยากร
1.1. โครงการ One Tablet Per Child
1.2. สร้างห้องการเรียนรู้ ครูเปิดสอนพิเศษรัฐจ่ายเงินให้ ซื้อซอฟต์แวร์ e-book เกิด e-learnning เพื่อสร้าง knowledge Based Society
1.3. โครงการ e=Education เพื่อให้โรงเรียนเป็นศูนย์การเรียนรู้ตลอดชีวิต ส่งเสริมการศึกษาที่มีประสิทธิภาพสูงตรงกับความต้องการที่แท้จริง
1.4. โครงการโรงเรียนประถมศึกษาและมัธยมศึกษาในฝันสู่อุดมศึกษาชั้นยอด ให้มีคณะกรรมการโรงเรียน School Board
1.5. โครงการพลังครู พัฒนาศักยภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา แก้ไขปัญหาหนึ้สินครู โดยลดรายจ่าย เพิ่มรายได้ ขยายโอกาส
1.6. โครงการศูนย์การศึกษานานาชาติ
1.7. หนึ่งโรงเรียนหนึ่งพยาบาล
1.8. โรงเรียนตัวอย่างทุกอำเภอ พัฒนาศักยภาพของโรงเรียนให้เป็นเลิศ โดยใช้การติดต่อสื่อสารด้วยวิทยาการสมัยใหม่
2. โอกาสในการเข้าถึงแหล่งทุน เข้าเรียนได้โดยไม่ต้องกังวลในเรื่องทุนการศึกษา
1.1. Smaart Card เพื่อการศึกษาขั้นพื้นฐาน
1.2. โครงการเรียนก่อนผ่อนทีหลัง ส่งคืนเมื่อมีรายได้ Income Contigency Loan Program
1.3. โครงการสานฝันนักเรียนไปเรียนต่างประเทศ (โครงการหนึ่งอำเภอหนึ่งทุน)
1.4. กองทุนตั้งตัวได้
3. โอกาสในการเพิ่มพูนและฝึกฝนทักษะนักเรียนทุกคนสามารถเติบโตได้ในโลกที่เป็นจริง เรียนรู้บนการทำกิจกรรม Activity Based Learnning
1.1. ส่งเสริมอาชีวศึกษา ให้ความสำคัญมากขึ้น ให้ความรู้ทางปฏิบัติ อย่างแท้จริง
1.2. ศูนย์ซ่อมสร้างเพื่อชุมชน Fix It Center
1.3. โครงการอัจฉริยะสร้างได้ ค้นหาความสามารถของตนเองทุกสาขา
1.4. โครงการ 1 ดนตรี 1 กีฬา 2 ภาษา อังกฤษ จีน คณิต วิทย์
1.5. ปรับปรุงหลักสูตรเลิกการท่องจำ ใช้การเรียนรู้
1.6. คนไทยอายุ 25 ปีสามารถเทียบความรู้จบชั้น ม.6 ได้
1.7. สถาบันการศึกษา ราชภัฎและอาชีวะศึกษา ค้นหาความสามารถของตนเอง ให้ความสำคัญมากขึ้นและมีความรู้ปฏิบัติอย่างแท้จริง
1.8. จัดศูนย์ฝึกอบรม จัดศูนย์ฝึกในอาชีวะศึกษา ให้คนไทยเรียนรู้ พัฒนาทักษะให้คนไทยชำนาญในแต่ละสาขา
4. โอกาสในการเรียนรู้ตลอดชีวิต
1.1. อินเทอร์เน็ตตำบล อินเทอร์เน็ตหมู่บ้าน
1.2. สถานที่รวมกลุ่มอย่างสร้างสรรค์แก่เด็กวัยเรียนโดยมีคอมพิวเตอร์ไว้ใช้
นโยบายรัฐบาลยิ่งลักษณ์
1. นโยบายรัฐบาล แผนการบริหาราชการแผ่นดิน และวาระแห่งชาติ
นโยบายรัฐบาลยิ่งลักษณ์
- แถลงวันอังคารที่ 23 สิงหาคม 2554
- แต่งตั้งนายก 5 สิงหาคม 2554
- แต่งตั้งครม.9สิงหาคม 2554
- ครอบคลุมถึง แนวนโยบายแห่งรัฐ หมวด 5 ของรัฐธรรมนูญไทย
- หลักการและเหตุผล
o การเปลี่ยนผ่านของเศรษฐกิจ
o การเปลี่ยนผ่านทางการเมือง
o การเปลี่ยนผ่านโครงสร้างประชากรและสังคมไทย
-
นโยบายของรัฐบาล มีจุดมุ่งหมาย 3 ประการ ประกอบด้วย
1.นำประเทศไทยไปสู่โครงสร้างเศรษฐกิจที่สมดุล มีความเข้มแข็งของเศรษฐกิจภายในประเทศมากขึ้น
2.นำประเทศไทยสู่สังคมที่มีความปรองดองสมานฉันท์
3.นำประเทศไทยไปสู่การเป็นประชาคมอาเซียนในปี 2558 อย่างสมบูรณ์
นโยบายรัฐบาลยิ่งลักษณ์ 8 ข้อ
1.นโยบายเร่งด่วนที่จะดำเนินการในปีแรก
2.นโยบายความมั่นคงแห่งรัฐ
3.นโยบายเศรษฐกิจ
4.นโยบายสังคมและคุณภาพชีวิต
5.นโยบายที่ดิน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
6.นโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีการวิจัย และนวัตกรรม
7.นโยบายการต่างประเทศและเศรษฐกิจระหว่างประเทศ
8.นโยบายการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี
นโยบายรัฐบาลยิ่งลักษณ์มี 2 ระยะ8 ข้อ-16 เรื่องด่วน คือ
1. ระยะเร่งด่วน -ดำเนินการในปีแรก
2. ระยะบริหารราชการ 4 ปี
1.นโยบายเร่งด่วน คือ
1) สร้างความปรองดองสมานฉันท์ เยียวยาและฟื้นฟูทุกฝ่าย
คณะกรรมการอิสระตรวจสอบและค้นหาความจริงเพื่อการปรองดองแห่งชาติ (คอป.) ดำเนินการอย่างเป็นอิสระ
2) กำหนดให้การแก้ไขและป้องกันปัญหายาเสพติดเป็น “วาระแห่งชาติ” /ยึดหลักนิติธรรม
3) ป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบในภาครัฐอย่างจริงจัง
4) ส่งเสริมการบริหารจัดการน้ำอย่างบูรณาการและเร่งรัดขยายเขตพื้นที่ชลประทาน
5) เร่งนำสันติสุขและความปลอดภัยกลับมาสู่พื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ โดยน้อมนำกระแสพระราชดำรัส “เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา” เป็นหลักปฏิบัติ
6) เร่งฟื้นฟูความสัมพันธ์และพัฒนาความร่วมมือกับประเทศเพื่อนบ้านและนานาประเทศ
7) แก้ไขความเดือดร้อนของประชาชนและผู้ประกอบการเนื่องจากภาวะเงินเฟ้อและราคาน้ำมันเชื้อเพลิง
- ชะลอการเก็บเงินเข้ากองทุนน้ำมันเชื้อเพลิงชั่วคราว
- บัตรเครดิตพลังงานสำหรับผู้ประกอบอาชีพรถรับจ้างขนส่งผู้โดยสารสาธารณะ
8) ยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชน โดยเพิ่มกำลังซื้อภายในสร้างสมดุลและความเข้มแข็งอย่างมีคุณภาพให้แก่ระบบเศรษฐกิจมหภาค
- พักหนี้ครัวเรือนของเกษตรกรรายย่อย มีหนี้ต่ำกว่า 500,000 บาท อย่างน้อย 3 ปี
- ปรับโครงสร้างหนี้สำหรับผู้ที่มีหนี้เกิน 500,000 บาท
- ทำให้แรงงานมีรายได้เป็นวันละไม่น้อยกว่า 300 บาท
- ผู้จบปริญญาตรีมีรายได้เดือนละไม่น้อยกว่า 15,000 บาท
- จ่ายเบี้ยสูงอายุแบบขั้นบันได อายุ 60-69 ปี 600 บาท, อายุ 70-79 ปี 700 บาท, อายุ 80-89 ปี 800 บาท และอายุ 90 ปีขึ้นไป ได้รับ 1,000 บาท
- ลดภาษีบ้านหลังแรกและรถยนต์คันแรก
9) ลดภาษีเงินได้นิติบุคคล เหลือร้อยละ 23 ในปี 2555 และเหลือร้อยละ 20 ในปี 2556
10) ส่งเสริมให้ประชาชนเข้าถึงแหล่งเงินทุน
- เพิ่มเงินทุนกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองอีกแห่งละ 1 ล้านบาท
- จัดตั้งกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี วงเงินเฉลี่ยจังหวัดละ 100 ล้านบาท
- ตั้งกองทุนตั้งตัวได้วงเงิน 1,000 ล้านบาท ต่อสถาบันอุดมศึกษาที่ร่วมโครงการ
- จัดสรรงบประมาณเข้ากองทุนเอสเอ็มแอล 300,000 400,000 และ 500,000 บาทตามขนาดหมู่บ้าน เพื่อพัฒนากองทุนด้วยตนเอง
11) ยกระดับราคาสินค้าเกษตรและให้เกษตรกรเข้าถึงแหล่งเงินทุน
- เริ่มจากการรับจำนำข้าวเปลือกเจ้าและข้าวเปลือกหอมมะลิ เกวียนละ 15,000 บาท และ 20,000 บาท
- จัดทำทะเบียนครัวเรือนเกษตรกรและการออกบัตรเครดิตสำหรับเกษตรกร
12) เร่งเพิ่มรายได้จากการท่องเที่ยวทั้งในและนอกประเทศ
- โดยประกาศให้ปี 2554-2555 เป็นปี “มหัศจรรย์ไทยแลนด์” Miracle ThaiLand
13) สนับสนุนการพัฒนางานศิลปหัตถกรรมและผลิตภัณฑ์ชุมชน
14) พัฒนาระบบประกันสุขภาพ เพิ่มประสิทธิภาพระบบ 30 บาทรักษาทุกโรค ให้ทุกคนได้รับบริการอย่างมีคุณภาพ สะดวก รวดเร็วและเป็นธรรม เบาหวาน ความดันโลหิตสูง หัวใจ โรคหลอดเลือด มะเร็ง
15) จัดหาเครื่องคอมพิวเตอร์แท็บเล็ตให้แก่โรงเรียน เริ่มในโรงเรียนนำร่องแก่นักเรียน ป. 1 ปีการศึกษา 2555
16) เร่งรัดและผลักดันการปฏิรูปการเมืองที่ประชาชนมีส่วนร่วม โดยมีภาร่างรัฐธรรมนูญ (ส.ส.ร.) ที่เป็นอิสระยกร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ โดยให้ประชาชนเห็นชอบผ่านการออกเสียงประชามติ
ส่วนนโยบายที่จะดำเนินการภายในช่วงระยะ 4 ปี จะดำเนินนโยบายหลักจากข้อ 2-8 ดังนี้
2.นโยบายความมั่นคงแห่งรัฐ
- เทิดทูนและรักษาสถาบันพระมหากษัตริย์ เพื่อให้สังคมไทยเป็นสังคมแห่งการเรียนรู้และพอเพียง
- พัฒนาเสริมสร้างศักยภาพกองทัพ
- พัฒนาเสริมสร้างความร่วมมือระหว่างประเทศ
- พัฒนาระบบเตรียมพร้อมแห่งชาติ
- เร่งแก้ไขปัญหายาเสพติด
3.นโยบายเศรษฐกิจ
3.1 นโยบายเศรษฐกิจมหภาค
- กระจายรายได้ที่เป็นธรรม
- ส่งเสริมเข้าถึงแหล่งทุน
- พัฒนาระบบสถาบันการเงิน
- ปรับโครงสร้างภาษีอากรทั้งระบบ
- รักษาวินัยการคลัง
- ปรับปรุงโครงรัฐวิสาหกิจ
- บริหารสินทรัพย์ของประเทศ กองทุนมั่งคั่ง กองทุนน้ำมันเชื้อเพลิง กองทุนอาหาร กองทุนครู
3.2 นโยบายสร้างรายได้
- ส่งเสริมการท่องเที่ยว เชิงอนุรักษ์ วัฒนธรรม /รายได้จากนักท่องเที่ยวเพิ่ม 2 เท่าใน 5 ปี
- ขยายบทบาทธุรกิจเกษตร ให้ไทยเป็นศูนย์กลางตลาดซื้อขาย ข้าว น้ำตาล มันสันประหลัง
- ผลักดันพลังงานปิโตรเลี่ยมและพลังงานทดแทน
- ยกความสามารถแข่งขันขยายช่องทางตลาด
- สร้างนวัตกรรมจากงานวิจัย/พัฒนาสร้างตราสินค้าใหม่
- ส่งเสริมการลงทุนในประเทศเพื่อนบ้าน
- ดึงดูดการลงทุนเข้าสู่ประเทศ
- สร้างกระบวนการสร้างอาชีพ/ตั้งกองทุนต่างๆสนับการเกิดการผลิต การแปรรูปการค้าที่ทันสมัย
- ส่งเสริมการขยายการเชื่อมโยงทางการค้า /แสวงหาโอกาส ความพร้อมรองรับผลกระทบ
3.3 นโยบายปรับโครงสร้างเศรษฐกิจ
3.3.1 ภาคเกษตร
- สภาเกษตรกรแห่งชาติ
- วิจัยพัฒนาสายพันธ์
- ผลิตด้านปศุสัตว์ได้มาตรฐานปลอดภัย เป็นมิตรสิ่งแวดล้อม
- พัฒนาการประมง ตรวจสอบน้ำตามมาตรฐานสากล
- เสริมสร้างครัวเรือนให้เข้มแข็ง/เทคโนโลยีและภูมิปัญญาชาวบ้าน
- จัดทำระบบทะเบียนครัวเรือนข้อมูลการเกษตร
- เร่งรัดพัฒนาธุรกิจเกษตร
- พัฒนาอุตสาหกรรมมูลค่าเพิ่ม
- ส่งเสริมเกษตรทฤษฎีใหม่
3.3.2 อุตสาหกรรม
- ยกระดับการแข่งขันภาคอุตสาหกรรม
- อุตสาหกรรมสร้างสรรค์ด้วยปัญญา เทคโนโลยี
- อุตสาหกรรมแปรรูปเกษตร ภูมิปัญญาท้องถิ่น
- ช่องการเข้าถึงแหล่งสินเชื่อ
- กำหนดมาตรฐานสินค้าขั้นพื้นฐาน
- พัฒนาอุตสาหกรรมแหล่งใหม่
- เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม รับผิดชอบสังคม
- มาตรการภาษี ให้ประหยัดพลังงาน
- ประกอบการในนิคมอุตสาหกรรม
- แสวงหาแหล่งแร่สำคัญ
3.3.3 การท่องเที่ยว บริการ การกีฬา
- พัฒนาการท่องเที่ยว – เจ้าภาพจัดกิจกรรมนานาชาติขนาดใหญ่
- พัฒนาภาคบริการ – องค์ความรู้ เพิ่มมูลค่า
- พัฒนาการกีฬา – ศูนย์การกีฬาของภูมิภาคและโลก
3.3.4 การตลาด การค้า การลงทุน
ศูนย์กลางผลิตอาหารฮาลาล การค้าเสรี พหุภาคี /ทวิภาคี
3.4 นโยบายโครงสร้างพื้นฐาน การพัฒนาระบบรางขนส่ง
- พัฒนารถไฟความเร็วสูง กทม-เชียงใหม่,กทม-นครราชสีมา,กทม-หัวหิน
- แอร์พอตลิ้ง ชลบุรี-พัทยา
- รถไฟฟ้า 10สาย ใน4 ปี เก็บค่าโดยสาร 20 บาทตลอดสาย
- ท่าอากาศยานสากล
3.5 นโยบายพลังงาน
- อุตสาหกรรมสร้างรายได้ให้ประเทศ
- ความมั่นคงทางพลังงาน
3.6 นโยบายสารสนเทศ
- เร่งรัดพัฒนาโครงข่ายสื่อสารความเร็วสูง
- เข้าถึงการใช้บริหารเครือข่ายอินเทอร์เน็ต สถานที่ราชการ สถานศึกษาโดยไม่คิดค่าใช้จ่าย
- ใช้คลื่นความถี่ให้เกิดประโยชน์สูงสุด
- ระบบสื่อวิทยุกระจายเสียงเปลี่ยนจากระบบอนาล๊อกเป็นระบบดิจิตอล
- ส่งเสริมการพัฒนาซอฟต์แวร์ ฮาร์ดแวร์ อุตสาหกรรม
4.นโยบายด้านสังคมและคุณภาพชีวิต
4.1 นโยบายการศึกษา
- เร่งพัฒนาคุณภาพการศึกษา
o ปฎิรูประบบความรู้ของสังคมไทย
o โครงการสร้างตำรา
o จัดให้มีระบบจัดการความรู้
o ปฏิรูปการศึกษาทุกระดับ
o ผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาทุกระดับวัดผลจากการผ่านการทดสอบมาตรฐานในระดับชาติ นานาชาติ
o ขจัดความไม่รู้หนังสือให้สิ้นไปจากสังคมไทย
o จัดครูดีเพียงพอทุกห้องเรียน
o พัฒนามหาวิทยาสู่ระดับโลก
o พัฒนาระบบการศึกษาให้ผู้เรียนมีความรู้คู่คุณธรรม
- สร้างโอกาสทางการศึกษา
o กระจายโอกาสทางการศึกษาให้เข้าถึงทุกกลุ่ม
o ส่งเสริมการให้ความรู้ตั้งแต่ครรภ์มารดาถึงแรกเกิด
o จัดโครงการเงินกู้เพื่อการศึกษาที่ผูกพันกับรายได้ในอนาคต(กรอ.)
o โครงการ 1 อำเภอ 1 ทุน
- ปฏิรูปครู
o พัฒนาระบบความก้าวหน้าของครูโดยใช้การประเมินเชิงประจักษ์ที่อิงขีดความสามารถ และวัดผลสัมฤทธิ์ของการจัดการศึกษา เป็นหลัก
- จัดการศึกษาขั้นอุดมศึกษาให้สอดคล้องตลาดแรงงาน
o ผู้จบการศึกษามีงานทำทันที
- เร่งพัฒนาการใช้เทคโนโลยีเพื่อการศึกษาให้ทัดเทียมนานาชาติ
o จัดระบบการเรียนแบบอิเล็กทรอนิกส์
o พัฒนาระบบไวเบอร์โฮม
o อุปกรณ์แท็บเล็ต
o มาตรฐานห้องเรียนอิเล็กทรอนิกส์
o กองทุนเพื่อพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา
- สนับสนุนการวิจัยและพัฒนาเพื่อสร้างทุนปัญญาของชาติ
o พัฒนามหาวิทยาลัยให้มุ่งสู่มหาวิทยาลัยระดับโลก
o มหาวิทยาลัยวิจัยมี 9 แห่ง คือ เกษตรศาสตร์ มหิดล เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี เชียงใหม่ สงขลา สุรนารี จุฬา ธรรมศาสตร์ ขอนแก่น
- เพิ่มขีดความสามารถของทรัพยกรมนุษย์รองรับการเปิดเสรีอาเซียน
o การจัดทำมาตรฐานคุณวุฒิวิชาชีพรับรองสมรรถนะการปฏิบัติงานตามมาตรฐานอาชีพ
5.นโยบายที่ดิน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม อนุรักษ์และฟื้นฟูทรัพยากรป่าไม้และสัตว์ ทรัพยากรทางทะเล สร้างความเป็นธรรมและลดความเหลื่อมล้ำในการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ
6.นโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี การวิจัยและนวัตกรรม เร่งสร้างนักวิทยาศาสตร์ นักวิจัย และครูวิทยาศาสตร์ให้เพียงพอ ส่งเสริมสนับสนุนการวิจัยและพัฒนา ส่งเสริมความร่วมมือกับประเทศมุสลิม และองค์กรอิสลามระหว่างประเทศ
7.นโยบายการต่างประเทศ และเศรษฐกิจระหว่างประเทศ เร่งส่งเสริมและพัฒนาความสัมพันธ์กับเพื่อนบ้าน ส่งเสริมผลประโยชน์ของชาติในองค์กรระหว่างประเทศร
8.นโยบายการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี
พัฒนาระบบราชการ สร้างเสริมมาตรฐานด้านคุณธรรม จริยธรรม และธรรมาภิบาล รวมถึงปฏิรูประบบกฎหมายและพัฒนากระบวนการยุติธรรม ให้ทันสมัย สอดคล้องหลักการประชาธิปไตย เร่งรัดจัดตั้งองค์กรเพื่อการปฏิรูปกระบวนการยุติรรมที่ดำเนินการโดยอิสระ และปรับปรุงระบบการช่วยเหลือประชาชนให้เข้าถึงความเป็นธรรมโดยง่าย ส่งเสริมให้ประชาชนมีโอกาสได้รับรู้ข่าวสารจากทางราชการ สื่อสารมวลชนและสื่อสาธารณะ
นโยบายรัฐบาลยิ่งลักษณ์
- แถลงวันอังคารที่ 23 สิงหาคม 2554
- แต่งตั้งนายก 5 สิงหาคม 2554
- แต่งตั้งครม.9สิงหาคม 2554
- ครอบคลุมถึง แนวนโยบายแห่งรัฐ หมวด 5 ของรัฐธรรมนูญไทย
- หลักการและเหตุผล
o การเปลี่ยนผ่านของเศรษฐกิจ
o การเปลี่ยนผ่านทางการเมือง
o การเปลี่ยนผ่านโครงสร้างประชากรและสังคมไทย
-
นโยบายของรัฐบาล มีจุดมุ่งหมาย 3 ประการ ประกอบด้วย
1.นำประเทศไทยไปสู่โครงสร้างเศรษฐกิจที่สมดุล มีความเข้มแข็งของเศรษฐกิจภายในประเทศมากขึ้น
2.นำประเทศไทยสู่สังคมที่มีความปรองดองสมานฉันท์
3.นำประเทศไทยไปสู่การเป็นประชาคมอาเซียนในปี 2558 อย่างสมบูรณ์
นโยบายรัฐบาลยิ่งลักษณ์ 8 ข้อ
1.นโยบายเร่งด่วนที่จะดำเนินการในปีแรก
2.นโยบายความมั่นคงแห่งรัฐ
3.นโยบายเศรษฐกิจ
4.นโยบายสังคมและคุณภาพชีวิต
5.นโยบายที่ดิน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
6.นโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีการวิจัย และนวัตกรรม
7.นโยบายการต่างประเทศและเศรษฐกิจระหว่างประเทศ
8.นโยบายการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี
นโยบายรัฐบาลยิ่งลักษณ์มี 2 ระยะ8 ข้อ-16 เรื่องด่วน คือ
1. ระยะเร่งด่วน -ดำเนินการในปีแรก
2. ระยะบริหารราชการ 4 ปี
1.นโยบายเร่งด่วน คือ
1) สร้างความปรองดองสมานฉันท์ เยียวยาและฟื้นฟูทุกฝ่าย
คณะกรรมการอิสระตรวจสอบและค้นหาความจริงเพื่อการปรองดองแห่งชาติ (คอป.) ดำเนินการอย่างเป็นอิสระ
2) กำหนดให้การแก้ไขและป้องกันปัญหายาเสพติดเป็น “วาระแห่งชาติ” /ยึดหลักนิติธรรม
3) ป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบในภาครัฐอย่างจริงจัง
4) ส่งเสริมการบริหารจัดการน้ำอย่างบูรณาการและเร่งรัดขยายเขตพื้นที่ชลประทาน
5) เร่งนำสันติสุขและความปลอดภัยกลับมาสู่พื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ โดยน้อมนำกระแสพระราชดำรัส “เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา” เป็นหลักปฏิบัติ
6) เร่งฟื้นฟูความสัมพันธ์และพัฒนาความร่วมมือกับประเทศเพื่อนบ้านและนานาประเทศ
7) แก้ไขความเดือดร้อนของประชาชนและผู้ประกอบการเนื่องจากภาวะเงินเฟ้อและราคาน้ำมันเชื้อเพลิง
- ชะลอการเก็บเงินเข้ากองทุนน้ำมันเชื้อเพลิงชั่วคราว
- บัตรเครดิตพลังงานสำหรับผู้ประกอบอาชีพรถรับจ้างขนส่งผู้โดยสารสาธารณะ
8) ยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชน โดยเพิ่มกำลังซื้อภายในสร้างสมดุลและความเข้มแข็งอย่างมีคุณภาพให้แก่ระบบเศรษฐกิจมหภาค
- พักหนี้ครัวเรือนของเกษตรกรรายย่อย มีหนี้ต่ำกว่า 500,000 บาท อย่างน้อย 3 ปี
- ปรับโครงสร้างหนี้สำหรับผู้ที่มีหนี้เกิน 500,000 บาท
- ทำให้แรงงานมีรายได้เป็นวันละไม่น้อยกว่า 300 บาท
- ผู้จบปริญญาตรีมีรายได้เดือนละไม่น้อยกว่า 15,000 บาท
- จ่ายเบี้ยสูงอายุแบบขั้นบันได อายุ 60-69 ปี 600 บาท, อายุ 70-79 ปี 700 บาท, อายุ 80-89 ปี 800 บาท และอายุ 90 ปีขึ้นไป ได้รับ 1,000 บาท
- ลดภาษีบ้านหลังแรกและรถยนต์คันแรก
9) ลดภาษีเงินได้นิติบุคคล เหลือร้อยละ 23 ในปี 2555 และเหลือร้อยละ 20 ในปี 2556
10) ส่งเสริมให้ประชาชนเข้าถึงแหล่งเงินทุน
- เพิ่มเงินทุนกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองอีกแห่งละ 1 ล้านบาท
- จัดตั้งกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี วงเงินเฉลี่ยจังหวัดละ 100 ล้านบาท
- ตั้งกองทุนตั้งตัวได้วงเงิน 1,000 ล้านบาท ต่อสถาบันอุดมศึกษาที่ร่วมโครงการ
- จัดสรรงบประมาณเข้ากองทุนเอสเอ็มแอล 300,000 400,000 และ 500,000 บาทตามขนาดหมู่บ้าน เพื่อพัฒนากองทุนด้วยตนเอง
11) ยกระดับราคาสินค้าเกษตรและให้เกษตรกรเข้าถึงแหล่งเงินทุน
- เริ่มจากการรับจำนำข้าวเปลือกเจ้าและข้าวเปลือกหอมมะลิ เกวียนละ 15,000 บาท และ 20,000 บาท
- จัดทำทะเบียนครัวเรือนเกษตรกรและการออกบัตรเครดิตสำหรับเกษตรกร
12) เร่งเพิ่มรายได้จากการท่องเที่ยวทั้งในและนอกประเทศ
- โดยประกาศให้ปี 2554-2555 เป็นปี “มหัศจรรย์ไทยแลนด์” Miracle ThaiLand
13) สนับสนุนการพัฒนางานศิลปหัตถกรรมและผลิตภัณฑ์ชุมชน
14) พัฒนาระบบประกันสุขภาพ เพิ่มประสิทธิภาพระบบ 30 บาทรักษาทุกโรค ให้ทุกคนได้รับบริการอย่างมีคุณภาพ สะดวก รวดเร็วและเป็นธรรม เบาหวาน ความดันโลหิตสูง หัวใจ โรคหลอดเลือด มะเร็ง
15) จัดหาเครื่องคอมพิวเตอร์แท็บเล็ตให้แก่โรงเรียน เริ่มในโรงเรียนนำร่องแก่นักเรียน ป. 1 ปีการศึกษา 2555
16) เร่งรัดและผลักดันการปฏิรูปการเมืองที่ประชาชนมีส่วนร่วม โดยมีภาร่างรัฐธรรมนูญ (ส.ส.ร.) ที่เป็นอิสระยกร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ โดยให้ประชาชนเห็นชอบผ่านการออกเสียงประชามติ
ส่วนนโยบายที่จะดำเนินการภายในช่วงระยะ 4 ปี จะดำเนินนโยบายหลักจากข้อ 2-8 ดังนี้
2.นโยบายความมั่นคงแห่งรัฐ
- เทิดทูนและรักษาสถาบันพระมหากษัตริย์ เพื่อให้สังคมไทยเป็นสังคมแห่งการเรียนรู้และพอเพียง
- พัฒนาเสริมสร้างศักยภาพกองทัพ
- พัฒนาเสริมสร้างความร่วมมือระหว่างประเทศ
- พัฒนาระบบเตรียมพร้อมแห่งชาติ
- เร่งแก้ไขปัญหายาเสพติด
3.นโยบายเศรษฐกิจ
3.1 นโยบายเศรษฐกิจมหภาค
- กระจายรายได้ที่เป็นธรรม
- ส่งเสริมเข้าถึงแหล่งทุน
- พัฒนาระบบสถาบันการเงิน
- ปรับโครงสร้างภาษีอากรทั้งระบบ
- รักษาวินัยการคลัง
- ปรับปรุงโครงรัฐวิสาหกิจ
- บริหารสินทรัพย์ของประเทศ กองทุนมั่งคั่ง กองทุนน้ำมันเชื้อเพลิง กองทุนอาหาร กองทุนครู
3.2 นโยบายสร้างรายได้
- ส่งเสริมการท่องเที่ยว เชิงอนุรักษ์ วัฒนธรรม /รายได้จากนักท่องเที่ยวเพิ่ม 2 เท่าใน 5 ปี
- ขยายบทบาทธุรกิจเกษตร ให้ไทยเป็นศูนย์กลางตลาดซื้อขาย ข้าว น้ำตาล มันสันประหลัง
- ผลักดันพลังงานปิโตรเลี่ยมและพลังงานทดแทน
- ยกความสามารถแข่งขันขยายช่องทางตลาด
- สร้างนวัตกรรมจากงานวิจัย/พัฒนาสร้างตราสินค้าใหม่
- ส่งเสริมการลงทุนในประเทศเพื่อนบ้าน
- ดึงดูดการลงทุนเข้าสู่ประเทศ
- สร้างกระบวนการสร้างอาชีพ/ตั้งกองทุนต่างๆสนับการเกิดการผลิต การแปรรูปการค้าที่ทันสมัย
- ส่งเสริมการขยายการเชื่อมโยงทางการค้า /แสวงหาโอกาส ความพร้อมรองรับผลกระทบ
3.3 นโยบายปรับโครงสร้างเศรษฐกิจ
3.3.1 ภาคเกษตร
- สภาเกษตรกรแห่งชาติ
- วิจัยพัฒนาสายพันธ์
- ผลิตด้านปศุสัตว์ได้มาตรฐานปลอดภัย เป็นมิตรสิ่งแวดล้อม
- พัฒนาการประมง ตรวจสอบน้ำตามมาตรฐานสากล
- เสริมสร้างครัวเรือนให้เข้มแข็ง/เทคโนโลยีและภูมิปัญญาชาวบ้าน
- จัดทำระบบทะเบียนครัวเรือนข้อมูลการเกษตร
- เร่งรัดพัฒนาธุรกิจเกษตร
- พัฒนาอุตสาหกรรมมูลค่าเพิ่ม
- ส่งเสริมเกษตรทฤษฎีใหม่
3.3.2 อุตสาหกรรม
- ยกระดับการแข่งขันภาคอุตสาหกรรม
- อุตสาหกรรมสร้างสรรค์ด้วยปัญญา เทคโนโลยี
- อุตสาหกรรมแปรรูปเกษตร ภูมิปัญญาท้องถิ่น
- ช่องการเข้าถึงแหล่งสินเชื่อ
- กำหนดมาตรฐานสินค้าขั้นพื้นฐาน
- พัฒนาอุตสาหกรรมแหล่งใหม่
- เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม รับผิดชอบสังคม
- มาตรการภาษี ให้ประหยัดพลังงาน
- ประกอบการในนิคมอุตสาหกรรม
- แสวงหาแหล่งแร่สำคัญ
3.3.3 การท่องเที่ยว บริการ การกีฬา
- พัฒนาการท่องเที่ยว – เจ้าภาพจัดกิจกรรมนานาชาติขนาดใหญ่
- พัฒนาภาคบริการ – องค์ความรู้ เพิ่มมูลค่า
- พัฒนาการกีฬา – ศูนย์การกีฬาของภูมิภาคและโลก
3.3.4 การตลาด การค้า การลงทุน
ศูนย์กลางผลิตอาหารฮาลาล การค้าเสรี พหุภาคี /ทวิภาคี
3.4 นโยบายโครงสร้างพื้นฐาน การพัฒนาระบบรางขนส่ง
- พัฒนารถไฟความเร็วสูง กทม-เชียงใหม่,กทม-นครราชสีมา,กทม-หัวหิน
- แอร์พอตลิ้ง ชลบุรี-พัทยา
- รถไฟฟ้า 10สาย ใน4 ปี เก็บค่าโดยสาร 20 บาทตลอดสาย
- ท่าอากาศยานสากล
3.5 นโยบายพลังงาน
- อุตสาหกรรมสร้างรายได้ให้ประเทศ
- ความมั่นคงทางพลังงาน
3.6 นโยบายสารสนเทศ
- เร่งรัดพัฒนาโครงข่ายสื่อสารความเร็วสูง
- เข้าถึงการใช้บริหารเครือข่ายอินเทอร์เน็ต สถานที่ราชการ สถานศึกษาโดยไม่คิดค่าใช้จ่าย
- ใช้คลื่นความถี่ให้เกิดประโยชน์สูงสุด
- ระบบสื่อวิทยุกระจายเสียงเปลี่ยนจากระบบอนาล๊อกเป็นระบบดิจิตอล
- ส่งเสริมการพัฒนาซอฟต์แวร์ ฮาร์ดแวร์ อุตสาหกรรม
4.นโยบายด้านสังคมและคุณภาพชีวิต
4.1 นโยบายการศึกษา
- เร่งพัฒนาคุณภาพการศึกษา
o ปฎิรูประบบความรู้ของสังคมไทย
o โครงการสร้างตำรา
o จัดให้มีระบบจัดการความรู้
o ปฏิรูปการศึกษาทุกระดับ
o ผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาทุกระดับวัดผลจากการผ่านการทดสอบมาตรฐานในระดับชาติ นานาชาติ
o ขจัดความไม่รู้หนังสือให้สิ้นไปจากสังคมไทย
o จัดครูดีเพียงพอทุกห้องเรียน
o พัฒนามหาวิทยาสู่ระดับโลก
o พัฒนาระบบการศึกษาให้ผู้เรียนมีความรู้คู่คุณธรรม
- สร้างโอกาสทางการศึกษา
o กระจายโอกาสทางการศึกษาให้เข้าถึงทุกกลุ่ม
o ส่งเสริมการให้ความรู้ตั้งแต่ครรภ์มารดาถึงแรกเกิด
o จัดโครงการเงินกู้เพื่อการศึกษาที่ผูกพันกับรายได้ในอนาคต(กรอ.)
o โครงการ 1 อำเภอ 1 ทุน
- ปฏิรูปครู
o พัฒนาระบบความก้าวหน้าของครูโดยใช้การประเมินเชิงประจักษ์ที่อิงขีดความสามารถ และวัดผลสัมฤทธิ์ของการจัดการศึกษา เป็นหลัก
- จัดการศึกษาขั้นอุดมศึกษาให้สอดคล้องตลาดแรงงาน
o ผู้จบการศึกษามีงานทำทันที
- เร่งพัฒนาการใช้เทคโนโลยีเพื่อการศึกษาให้ทัดเทียมนานาชาติ
o จัดระบบการเรียนแบบอิเล็กทรอนิกส์
o พัฒนาระบบไวเบอร์โฮม
o อุปกรณ์แท็บเล็ต
o มาตรฐานห้องเรียนอิเล็กทรอนิกส์
o กองทุนเพื่อพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา
- สนับสนุนการวิจัยและพัฒนาเพื่อสร้างทุนปัญญาของชาติ
o พัฒนามหาวิทยาลัยให้มุ่งสู่มหาวิทยาลัยระดับโลก
o มหาวิทยาลัยวิจัยมี 9 แห่ง คือ เกษตรศาสตร์ มหิดล เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี เชียงใหม่ สงขลา สุรนารี จุฬา ธรรมศาสตร์ ขอนแก่น
- เพิ่มขีดความสามารถของทรัพยกรมนุษย์รองรับการเปิดเสรีอาเซียน
o การจัดทำมาตรฐานคุณวุฒิวิชาชีพรับรองสมรรถนะการปฏิบัติงานตามมาตรฐานอาชีพ
5.นโยบายที่ดิน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม อนุรักษ์และฟื้นฟูทรัพยากรป่าไม้และสัตว์ ทรัพยากรทางทะเล สร้างความเป็นธรรมและลดความเหลื่อมล้ำในการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ
6.นโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี การวิจัยและนวัตกรรม เร่งสร้างนักวิทยาศาสตร์ นักวิจัย และครูวิทยาศาสตร์ให้เพียงพอ ส่งเสริมสนับสนุนการวิจัยและพัฒนา ส่งเสริมความร่วมมือกับประเทศมุสลิม และองค์กรอิสลามระหว่างประเทศ
7.นโยบายการต่างประเทศ และเศรษฐกิจระหว่างประเทศ เร่งส่งเสริมและพัฒนาความสัมพันธ์กับเพื่อนบ้าน ส่งเสริมผลประโยชน์ของชาติในองค์กรระหว่างประเทศร
8.นโยบายการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี
พัฒนาระบบราชการ สร้างเสริมมาตรฐานด้านคุณธรรม จริยธรรม และธรรมาภิบาล รวมถึงปฏิรูประบบกฎหมายและพัฒนากระบวนการยุติธรรม ให้ทันสมัย สอดคล้องหลักการประชาธิปไตย เร่งรัดจัดตั้งองค์กรเพื่อการปฏิรูปกระบวนการยุติรรมที่ดำเนินการโดยอิสระ และปรับปรุงระบบการช่วยเหลือประชาชนให้เข้าถึงความเป็นธรรมโดยง่าย ส่งเสริมให้ประชาชนมีโอกาสได้รับรู้ข่าวสารจากทางราชการ สื่อสารมวลชนและสื่อสาธารณะ
การบริหารยุคใหม่
การบริหารยุคใหม่
ตามพระราชบัญญัติการศึกษา แห่งชาติ พุทธศักราช 2542 ในหมวดที่ 5 การบริหารและการจัดการศึกษา มาตรา 37 กำหนดให้มีการจัดการศึกษาโดยเขตพื้นที่การศึกษาในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อเป็นการสนองต่อหลักการกระจายอำนาจทางการศึกษาอย่างแท้จริง และคาดหวังว่าจะทำให้การจัดการศึกษามีมาตรฐานคุณภาพที่ใกล้เคียงกันใน แต่ละพื้นที่การศึกษา
คุณสมบัติที่ผู้บริหารต้องมี
1. ผู้บริหารจะต้องรู้และเข้าใจในหลักการนำไปสู่การปฏิบัติได้อย่างเป็นรูปธรรม
2. ผู้บริหารจะต้องใช้เทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างเหมาะสม
3. การบริหารโรงเรียนจะต้องดำเนินการในรูปของคณะกรรมการสถานศึกษา
4. การมีบทบาทและมีส่วนร่วมของบุคลากรในโรงเรียน และชุมชน
5. มีการนิเทศติดตามการดำเนินงานต่างอย่างเป็นระบบ
6. มีการตรวจสอบในเชิงคุณภาพที่ชัดเจน โดยเฉพาะการบริหารจัดการแบบมุ่งเน้นผลงาน
1. การบริหารการเปลื่ยนแปลง
อาศัยหลักคิดทฤษฎี แรงผลัก-แรงดึง ประกอบด้วย
ปัจจัยด้านระบบ เช่น ระบบการทำงาน เครื่องมือ อุปกรณ์ สภาพแวดล้อม
ปัจจัยด้านบุคคล เช่น ความรู้ ความสามารถ ทักษะ ทัศนคติ ความรู้สึกต่อการเปลี่ยนแปลง ความต้องการมีส่วนร่วม
เปลี่ยนแปลง 4 ด้าน คือ
ด้านโครงสร้าง (Structurul Change)
ด้านบุคลาการในองค์การ (People Change) วิธีการทำงาน หน้าที่
ด้านกระบวนการทำงาน (Process Change) ให้การทำงานเร็วขึ้น ประสิทธิผลเชื่อถือได้
ด้านวัฒนธรรมองค์กร (Cultrral Change) มุ่งเน้นการให้บริการประชาชน เปลี่ยนวัฒนธรรมการติดต่อสัมพันธ์ทุกระดับ
ผู้มีบทบาทสำคัญในการเปลี่ยนแปลง
1.ผู้อุปถัมถ์การเปลี่ยนแปลง (Change Sponsor) หมายถึง ผู้มีอำนาจในการอนุมัติให้มีการเปลี่ยนแปลง
2.ผู้สนับสนุนการเปลี่ยนแปลง (Change Advocate) หมายถึงผู้ที่ให้การสนับสนุนการเปลี่ยนแปลงอย่างเป็นรูปธรรมด้านการสื่อสารความสำคัญและเนื้อหาการเปลี่ยนแปลไปยังส่วนต่างๆขององค์กรต้องมีลักษณะดังนี้
เข้าใจการเปลี่ยนแปลง / ผู้ที่คนในองค์การรับฟัง น่าเชื่อถือ / โน้มน้าวจิตใจคนฟัง / ทำงานร่วมกับผู้อื่นได้
3.ผู้บริหารการเปลี่ยนแปลง (Change Agent) หมายถึงผู้ที่วางแผนและทำให้การเปลี่ยนแปลงนั้นเกิดขึ้นขับเคลื่อน ควบคุมกิจกรรม เป็นผู้ประสานและตัวกลาง มีลักษณะ เข้าใจการเปลี่ยนแปลง / มีความสามารถในการวางแผน ทำงานร่วมกับผู้อื่นและแก้ปัญหา / ประสานงานทั้งระดับบนและล่าง
4.ผู้ที่จะต้องเปลี่ยนแปลง (Change Target) ผู้ที่ต้องถูกเปลี่ยนแปลง เช่น เปลี่ยนตำแหน่ง หน้าที่ ทัศนคติ
การวางแผนการเปลี่ยนแปลงอย่างเป็นระบบ มี 5 ขั้นตอน
1.สร้างทีมเจ้าภาพ หรือทีมงานที่จะรับผิดชอบในการวางแผน
2.พัฒนาวิสัยทัศน์ของการเปลี่ยนแปลง
3.วางแผนและกำหนดตัวชี้วัด
4.พัฒนาโครงสร้างที่สนับสนุนการเปลี่ยนแปลง
5.ดำเนินการและหยั่งรากการเปลี่ยนแปลง
ลักษณะการวางแผนการเปลี่ยนแปลงอย่างเป็นระบบ
1. การวางแผน ลักษณะแผนที่ดี คือ เรียบง่าย แบ่งเป็นส่วนย่อย บอกบทบาทหน้าที่ และยืดหยุ่น
2. ประโยชน์ของตัวชี้วัดผลการทำงานช่วยกำหนดความเร่งด่วนของเป้าหมาย / สร้างแรงกระตุ้นในการทำงาน
/ เป็นเครื่องมือในการติดตามความก้าว หน้า / หาจุดที่ต้องการปรับปรุง / และใช้ในการสื่อสารผลการทำงาน
3.การพัฒนาบุคลากร ให้มีทัศนคติ ความรู้ ความสามารถ ทักษะที่จำเป็นต่อการเปลี่ยนแปลง
จำหลักแค่นี้ คงไปวิเคราะห์ตอบข้อสอบได้ โอกาสเป็นข้อสอบ 1 -2 ข้อ
ทฤษฏีทางการบริหาร
ทฤษฎีลำดับขั้นความต้องการ 5 ขั้น
Abraham Harold Maslow : ทฤษฎีลำดับขั้นความต้องการ 5 ขั้น
1.ความต้องการทางกายภาพ (Physiological Needs) หมายถึงความต้องการพื้นฐานของร่างกายซึ่งจำเป็นในการดำรงชีวิต ได้แก่ความต้องการอาหาร น้ำ อากาศ เสื้อผ้า
2.ความต้องการความปลอดภัย (Safety Needs) หมายถึง ความต้องการมั่นคงปลอดภัยทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจ
3. ความต้องการทางสังคม (Social Needs) หมายถึง ความต้องการที่จะเป็นที่รักของผู้อื่น และต้องการมีสัมพันธภาพที่ดีกับบุคคลอื่น
4.ความต้องการยกย่องชื่อเสียง (Esteem Needs)
5.ความต้องการที่จะรู้จักตนเองตามสภาพที่แท้จริงและความสำเร็จของชีวิต(Self–ActualizationNeeds)หมายถึง
ความต้องการที่จะรู้จักและเข้าใจตนเองตามสภาพที่แท้จริงเพื่อพัฒนาชีวิตของตนเองให้สมบูรณ์(Self-fulfillment)
Douglas Mc Gregor : ทฤษฎี X และทฤษฎี Y
ทฤษฎี X(Theory X) เป็นปรัชญาการบริการจัดการแบบดั้งเดิม โดยมองว่าพนักงานเกียจคร้าน ไม่กระตือรือร้น ไม่ชอบงานและพยายามหลีกเลี่ยงงาน
ทฤษฎี Y(Theory Y) เป็น ปรัชญาการบริการจัดการ โดยมองว่าพนักงานมีความรับผิดชอบ มีความคิดริเริ่มในการแก้ปัญหาในการทำงานและไม่มีความเบื่อหน่ายในการทำงาน
แมคเกรเกอร์ ได้เรียกร้องให้ผู้บริหารเปลี่ยนแปลงมุมมองมนุษย์จากมุมมองตามทฤษฎี X ไปเป็นมุมมองตามทฤษฎี Y
William Ouchi : ทฤษฎี Z
การที่จะทำความเข้าใจทฤษฎี Z ได้นั้น ต้องทำความเข้าใจของทฤษฎี A และทฤษฎี J ก่อน
ทฤษฎี A คือ Amarican Theory เป็น ทฤษฎีว่าด้วยการบริหารจัดการร่วมสมัยตามแบบของอเมริกา ซึ่งให้หลักการว่า
การบริหารจัดการแบบนี้ ต้องอาศัยการจัดการจากพื้นฐานของบุคคล ของผู้บริหารที่เกิดขึ้นในอดีต ซึ่งในทฤษฎีนี้มีหลักสำคัญ 3 ประการ คือ
1.) Individualism มีความรับผิดชอบในหน่วยงานสูง แต่ก็เกิดผลเสียคือ ไม่เกิดความผูกพัน
2.) Short Term Employment คือ การจ้างงานในระยะสั้น
3.) Individual Decision Making สูง มีความมั่นใจในการตัดสินใจ ผลเสียคือ ขาดการทำงานเป็นทีม
ทฤษฎี J คือ การบริหารจัดการแบบญี่ปุ่น ซึ่งมีลักษณะที่เรียกว่า
1.) การจ้างงานตลอดชีวิต หรือ Lifetime Employment มี การเลื่อนตำแหน่ง มีความผูกพันกัน
ลักษณะประการที่สองของการบริหารจัดการแบบญี่ปุ่น คือ ต้องมี Concential Decision Making คือ
การตัดสินที่ต้องได้รับการยอมรับจากที่ประชุม ซึ่งเป็นผลดี แต่ผลเสีย คือ อาจเกิดความล่าช้า
วิลเลี่ยม โอชิ มองเห็นข้อดีและข้อเสียของ 2 ทฤษฎีตัวอย่าง แล้วนำข้อดีข้อเสียนั้นมาวิเคราะห์สร้างเป็นทฤษฎีร่วมสมัย
ที่เรียกว่า Blend Together หรือการนำมาผสมผสานให้เป็นหนึ่งเดียวกัน เรียกว่า ทฤษฎี Z ซึ่งเป็นแนวคิดของการบริหารจัดการเชิงจินตนาการ โดย
1.) ใช้วิธีแบบ Long Term Employment หรือ การจ้างงานระยะยาวขึ้น
2.) Individaul Responsibility คือ จะต้องมีความรับผิดชอบส่วนบุคคล
3.) Concential Decision Making คือ การตัดสินใจต้องทำเป็นทีม ต้องมีการพูดคุย ถึงผลดีผลเสียของการบริหารจัดการแบบต่างๆ
Henry Fayol : บิดาทฤษฎีการบริหารจัดการสมัยใหม่
เป็นบิดาของทฤษฎีการจัดการการปฏิบัติการ(Operational management theory)
หรือบางทางก็ถือกันว่าเป็นบิดาของการบริหารจัดการสมัยใหม่
เขาเชื่อว่าการบริหารนั้นเป็นเรื่องของทักษะ และเขาสนใจที่จะศึกษาองค์การโดยรวมและมุ่งเน้นที่กิจกรรมการจัดการ (Managerial activities) ซึ่งประกอบด้วยกิจกรรมห้าอย่างคือ
1. การวางแผน(Planning)
2. การจัดองค์การ(Organizing)
3. การบังคับบัญชา หรือการสั่งการ (Commanding)
4. การประสานงาน (Coordinating)
5. การควบคุม (Controlling)
อังริ ฟาโยล (Henri Fayol) เป็นนักอุตสาหกรรม หลักการจัดการ 14 ประการ (Fayol's Fourteen Principles of Management) ซึ่งมีดังต่อไปนี้ คือ
1. การจัดแบ่งงาน (division of work)
2. การมีอำนาจหน้าที่ (authority)
3. ความมีวินัย (discipline)
4. เอกภาพของสายบังคับบัญชา (unity of command)
5. เอกภาพในทิศทาง (unity of direction)
6. ผลประโยชน์ของหมู่คณะจะต้องเหนือผลประโยชน์ส่วนตน (Subordination of Individual Interests to the General Interests)
7. มีระบบค่าตอบแทนที่ยุติธรรม (remuneration)
8. ระบบการรวมศูนย์ (centralization)
9. สายบังคับบัญชา (scalar chain)
10. ความเป็นระบบระเบียบ (order)
11. ความเท่าเทียมกัน (equity)
12. ความมั่นคง และสามัญฐานะของบุคลากร (stability of tenure of personnel)
13. การริเริ่มสร้างสรรค์ (initiative)
14. วิญญาณแห่งหมู่คณะ (esprit de corps) การสร้างขวัญและกำลังใจในการทำงาน มีความราบรื่น และความเป็นปึกแผ่นใน
Max Weber : ทฤษฎีการจัดการตามระบบราชการ (Bureaucratic Management)
แนวคิดการจัดองค์กรของเว็บเบอร์มี 6 ประการมีดังนี้ คือ
1. องค์การ ต้องมีการจัดแบ่งงานออกเป็นส่วนๆ (Division of labor)
2. องค์การนั้นต้องมีสายบังคับบัญชาตามลำดับชั้น ( Authority Hierarchy)
3. ระบบการคัดเลือกคนนั้นต้องกระทำอย่างเป็นทางการ ( Formal Selection)
4. องค์การต้องมีระเบียบ และกฏเกณฑ์ (Formal Rules and Regulations)
5. ความไม่เลือกที่รักมักที่ชัง ( Impersonality)
6. การแยกระบบการทำงานออกเป็นสายอาชีพ (Career Orientation)
Luther Gulick : POSDCORB
กิจกรรม 7 ประการมีดังนี้
P - Plannin
O - Organizing
S - Staffing
D - Directing
CO - Coordinating
R - Reporting
B - Budgeting
Frederick Herzberg : ทฤษฎี 2 ปัจจัย (Two Factors Theory)
ทฤษฎีเกี่ยวกับแรงจูงใจโดยเฟรเดอริค เฮิร์ซเบอร์ก (Frederick Herzberg)
แรงจูงใจของมนุษย์จะประกอบด้วย 2 ปัจจัย คือ
1. ปัจจัยภายนอกหรือเรียกว่า Hygiene Factors
2. ปัจจัยภายใน หรือ Motivation Factors
ปัจจัยภายนอก(Hygiene Factors) ได้แก่
* นโยบายขององค์กร
* การบังคับบัญชา
* ความสัมพันธ์กับหัวหน้างาน
* สภาพแวดล้อม/เงื่อนไขในการทำงาน
* ค่าจ้าง/เงินเดือน/สวัสดิการ
* ความสัมพันธ์กับเพื่อนร่วมงาน
ปัจจัยภายใน(Motivation Factors) ได้แก่
* การทำงานบรรลุผลสำเร็จ
* การได้รับการยอมรับ
* ทำงานได้ด้วยตนเอง
* ความรับผิดชอบ
* ความก้าวหน้าในงาน
* การเจริญเติบโต
นอกจากนี้เฮิร์ซเบอร์กยังบอกอีกว่า
1.องค์กรควรจะให้คนทำงานที่ท้าทายอย่างเต็มความสามารถ
2.พนักงานที่ทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพและเต็มความสามารถจะต้องได้รับการเพิ่มความรับผิดชอบให้สูงขึ้น
3.หากงานไม่มีความท้าทาย และไม่ทำให้คนทำงานได้อย่างเต็มความสามารถแล้วจะเกิดปัญหาในเรื่องของแรงจูงใจในการทำงาน
Frederick W. Taylor : ทฤษฏีการจัดการตามหลักวิทยาศาสตร์
ปรัชญาการบริหารของเทย์เลอร์ได้แก่
1.ทำการศึกษางานแต่ละส่วนด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์และพัฒนาวิธีการที่ดีที่สุดสำหรับการทำงานแต่ละอย่าง
2.ใช้หลักการทางวิทยาศาสตร์ในการคัดเลือกและการฝึกอบรมพนักงานและมอบหมายความรับผิดชอบให้ทำงานที่เหมาะสมที่สุดสำหรับแต่ละคน
3. มีการประสานงานกันอย่างใกล้ชิดระหว่างผู้บริหารและพนักงาน
4. แบ่งงานและความรับผิดชอบในงานเป็นส่วนต่าง ๆ
เทย์เลอร์ได้พัฒนาวิธีการจ่ายค่าจ้างต่อหน่วยแบบสองระดับ(Different rate system)
ตามพระราชบัญญัติการศึกษา แห่งชาติ พุทธศักราช 2542 ในหมวดที่ 5 การบริหารและการจัดการศึกษา มาตรา 37 กำหนดให้มีการจัดการศึกษาโดยเขตพื้นที่การศึกษาในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อเป็นการสนองต่อหลักการกระจายอำนาจทางการศึกษาอย่างแท้จริง และคาดหวังว่าจะทำให้การจัดการศึกษามีมาตรฐานคุณภาพที่ใกล้เคียงกันใน แต่ละพื้นที่การศึกษา
คุณสมบัติที่ผู้บริหารต้องมี
1. ผู้บริหารจะต้องรู้และเข้าใจในหลักการนำไปสู่การปฏิบัติได้อย่างเป็นรูปธรรม
2. ผู้บริหารจะต้องใช้เทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างเหมาะสม
3. การบริหารโรงเรียนจะต้องดำเนินการในรูปของคณะกรรมการสถานศึกษา
4. การมีบทบาทและมีส่วนร่วมของบุคลากรในโรงเรียน และชุมชน
5. มีการนิเทศติดตามการดำเนินงานต่างอย่างเป็นระบบ
6. มีการตรวจสอบในเชิงคุณภาพที่ชัดเจน โดยเฉพาะการบริหารจัดการแบบมุ่งเน้นผลงาน
1. การบริหารการเปลื่ยนแปลง
อาศัยหลักคิดทฤษฎี แรงผลัก-แรงดึง ประกอบด้วย
ปัจจัยด้านระบบ เช่น ระบบการทำงาน เครื่องมือ อุปกรณ์ สภาพแวดล้อม
ปัจจัยด้านบุคคล เช่น ความรู้ ความสามารถ ทักษะ ทัศนคติ ความรู้สึกต่อการเปลี่ยนแปลง ความต้องการมีส่วนร่วม
เปลี่ยนแปลง 4 ด้าน คือ
ด้านโครงสร้าง (Structurul Change)
ด้านบุคลาการในองค์การ (People Change) วิธีการทำงาน หน้าที่
ด้านกระบวนการทำงาน (Process Change) ให้การทำงานเร็วขึ้น ประสิทธิผลเชื่อถือได้
ด้านวัฒนธรรมองค์กร (Cultrral Change) มุ่งเน้นการให้บริการประชาชน เปลี่ยนวัฒนธรรมการติดต่อสัมพันธ์ทุกระดับ
ผู้มีบทบาทสำคัญในการเปลี่ยนแปลง
1.ผู้อุปถัมถ์การเปลี่ยนแปลง (Change Sponsor) หมายถึง ผู้มีอำนาจในการอนุมัติให้มีการเปลี่ยนแปลง
2.ผู้สนับสนุนการเปลี่ยนแปลง (Change Advocate) หมายถึงผู้ที่ให้การสนับสนุนการเปลี่ยนแปลงอย่างเป็นรูปธรรมด้านการสื่อสารความสำคัญและเนื้อหาการเปลี่ยนแปลไปยังส่วนต่างๆขององค์กรต้องมีลักษณะดังนี้
เข้าใจการเปลี่ยนแปลง / ผู้ที่คนในองค์การรับฟัง น่าเชื่อถือ / โน้มน้าวจิตใจคนฟัง / ทำงานร่วมกับผู้อื่นได้
3.ผู้บริหารการเปลี่ยนแปลง (Change Agent) หมายถึงผู้ที่วางแผนและทำให้การเปลี่ยนแปลงนั้นเกิดขึ้นขับเคลื่อน ควบคุมกิจกรรม เป็นผู้ประสานและตัวกลาง มีลักษณะ เข้าใจการเปลี่ยนแปลง / มีความสามารถในการวางแผน ทำงานร่วมกับผู้อื่นและแก้ปัญหา / ประสานงานทั้งระดับบนและล่าง
4.ผู้ที่จะต้องเปลี่ยนแปลง (Change Target) ผู้ที่ต้องถูกเปลี่ยนแปลง เช่น เปลี่ยนตำแหน่ง หน้าที่ ทัศนคติ
การวางแผนการเปลี่ยนแปลงอย่างเป็นระบบ มี 5 ขั้นตอน
1.สร้างทีมเจ้าภาพ หรือทีมงานที่จะรับผิดชอบในการวางแผน
2.พัฒนาวิสัยทัศน์ของการเปลี่ยนแปลง
3.วางแผนและกำหนดตัวชี้วัด
4.พัฒนาโครงสร้างที่สนับสนุนการเปลี่ยนแปลง
5.ดำเนินการและหยั่งรากการเปลี่ยนแปลง
ลักษณะการวางแผนการเปลี่ยนแปลงอย่างเป็นระบบ
1. การวางแผน ลักษณะแผนที่ดี คือ เรียบง่าย แบ่งเป็นส่วนย่อย บอกบทบาทหน้าที่ และยืดหยุ่น
2. ประโยชน์ของตัวชี้วัดผลการทำงานช่วยกำหนดความเร่งด่วนของเป้าหมาย / สร้างแรงกระตุ้นในการทำงาน
/ เป็นเครื่องมือในการติดตามความก้าว หน้า / หาจุดที่ต้องการปรับปรุง / และใช้ในการสื่อสารผลการทำงาน
3.การพัฒนาบุคลากร ให้มีทัศนคติ ความรู้ ความสามารถ ทักษะที่จำเป็นต่อการเปลี่ยนแปลง
จำหลักแค่นี้ คงไปวิเคราะห์ตอบข้อสอบได้ โอกาสเป็นข้อสอบ 1 -2 ข้อ
ทฤษฏีทางการบริหาร
ทฤษฎีลำดับขั้นความต้องการ 5 ขั้น
Abraham Harold Maslow : ทฤษฎีลำดับขั้นความต้องการ 5 ขั้น
1.ความต้องการทางกายภาพ (Physiological Needs) หมายถึงความต้องการพื้นฐานของร่างกายซึ่งจำเป็นในการดำรงชีวิต ได้แก่ความต้องการอาหาร น้ำ อากาศ เสื้อผ้า
2.ความต้องการความปลอดภัย (Safety Needs) หมายถึง ความต้องการมั่นคงปลอดภัยทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจ
3. ความต้องการทางสังคม (Social Needs) หมายถึง ความต้องการที่จะเป็นที่รักของผู้อื่น และต้องการมีสัมพันธภาพที่ดีกับบุคคลอื่น
4.ความต้องการยกย่องชื่อเสียง (Esteem Needs)
5.ความต้องการที่จะรู้จักตนเองตามสภาพที่แท้จริงและความสำเร็จของชีวิต(Self–ActualizationNeeds)หมายถึง
ความต้องการที่จะรู้จักและเข้าใจตนเองตามสภาพที่แท้จริงเพื่อพัฒนาชีวิตของตนเองให้สมบูรณ์(Self-fulfillment)
Douglas Mc Gregor : ทฤษฎี X และทฤษฎี Y
ทฤษฎี X(Theory X) เป็นปรัชญาการบริการจัดการแบบดั้งเดิม โดยมองว่าพนักงานเกียจคร้าน ไม่กระตือรือร้น ไม่ชอบงานและพยายามหลีกเลี่ยงงาน
ทฤษฎี Y(Theory Y) เป็น ปรัชญาการบริการจัดการ โดยมองว่าพนักงานมีความรับผิดชอบ มีความคิดริเริ่มในการแก้ปัญหาในการทำงานและไม่มีความเบื่อหน่ายในการทำงาน
แมคเกรเกอร์ ได้เรียกร้องให้ผู้บริหารเปลี่ยนแปลงมุมมองมนุษย์จากมุมมองตามทฤษฎี X ไปเป็นมุมมองตามทฤษฎี Y
William Ouchi : ทฤษฎี Z
การที่จะทำความเข้าใจทฤษฎี Z ได้นั้น ต้องทำความเข้าใจของทฤษฎี A และทฤษฎี J ก่อน
ทฤษฎี A คือ Amarican Theory เป็น ทฤษฎีว่าด้วยการบริหารจัดการร่วมสมัยตามแบบของอเมริกา ซึ่งให้หลักการว่า
การบริหารจัดการแบบนี้ ต้องอาศัยการจัดการจากพื้นฐานของบุคคล ของผู้บริหารที่เกิดขึ้นในอดีต ซึ่งในทฤษฎีนี้มีหลักสำคัญ 3 ประการ คือ
1.) Individualism มีความรับผิดชอบในหน่วยงานสูง แต่ก็เกิดผลเสียคือ ไม่เกิดความผูกพัน
2.) Short Term Employment คือ การจ้างงานในระยะสั้น
3.) Individual Decision Making สูง มีความมั่นใจในการตัดสินใจ ผลเสียคือ ขาดการทำงานเป็นทีม
ทฤษฎี J คือ การบริหารจัดการแบบญี่ปุ่น ซึ่งมีลักษณะที่เรียกว่า
1.) การจ้างงานตลอดชีวิต หรือ Lifetime Employment มี การเลื่อนตำแหน่ง มีความผูกพันกัน
ลักษณะประการที่สองของการบริหารจัดการแบบญี่ปุ่น คือ ต้องมี Concential Decision Making คือ
การตัดสินที่ต้องได้รับการยอมรับจากที่ประชุม ซึ่งเป็นผลดี แต่ผลเสีย คือ อาจเกิดความล่าช้า
วิลเลี่ยม โอชิ มองเห็นข้อดีและข้อเสียของ 2 ทฤษฎีตัวอย่าง แล้วนำข้อดีข้อเสียนั้นมาวิเคราะห์สร้างเป็นทฤษฎีร่วมสมัย
ที่เรียกว่า Blend Together หรือการนำมาผสมผสานให้เป็นหนึ่งเดียวกัน เรียกว่า ทฤษฎี Z ซึ่งเป็นแนวคิดของการบริหารจัดการเชิงจินตนาการ โดย
1.) ใช้วิธีแบบ Long Term Employment หรือ การจ้างงานระยะยาวขึ้น
2.) Individaul Responsibility คือ จะต้องมีความรับผิดชอบส่วนบุคคล
3.) Concential Decision Making คือ การตัดสินใจต้องทำเป็นทีม ต้องมีการพูดคุย ถึงผลดีผลเสียของการบริหารจัดการแบบต่างๆ
Henry Fayol : บิดาทฤษฎีการบริหารจัดการสมัยใหม่
เป็นบิดาของทฤษฎีการจัดการการปฏิบัติการ(Operational management theory)
หรือบางทางก็ถือกันว่าเป็นบิดาของการบริหารจัดการสมัยใหม่
เขาเชื่อว่าการบริหารนั้นเป็นเรื่องของทักษะ และเขาสนใจที่จะศึกษาองค์การโดยรวมและมุ่งเน้นที่กิจกรรมการจัดการ (Managerial activities) ซึ่งประกอบด้วยกิจกรรมห้าอย่างคือ
1. การวางแผน(Planning)
2. การจัดองค์การ(Organizing)
3. การบังคับบัญชา หรือการสั่งการ (Commanding)
4. การประสานงาน (Coordinating)
5. การควบคุม (Controlling)
อังริ ฟาโยล (Henri Fayol) เป็นนักอุตสาหกรรม หลักการจัดการ 14 ประการ (Fayol's Fourteen Principles of Management) ซึ่งมีดังต่อไปนี้ คือ
1. การจัดแบ่งงาน (division of work)
2. การมีอำนาจหน้าที่ (authority)
3. ความมีวินัย (discipline)
4. เอกภาพของสายบังคับบัญชา (unity of command)
5. เอกภาพในทิศทาง (unity of direction)
6. ผลประโยชน์ของหมู่คณะจะต้องเหนือผลประโยชน์ส่วนตน (Subordination of Individual Interests to the General Interests)
7. มีระบบค่าตอบแทนที่ยุติธรรม (remuneration)
8. ระบบการรวมศูนย์ (centralization)
9. สายบังคับบัญชา (scalar chain)
10. ความเป็นระบบระเบียบ (order)
11. ความเท่าเทียมกัน (equity)
12. ความมั่นคง และสามัญฐานะของบุคลากร (stability of tenure of personnel)
13. การริเริ่มสร้างสรรค์ (initiative)
14. วิญญาณแห่งหมู่คณะ (esprit de corps) การสร้างขวัญและกำลังใจในการทำงาน มีความราบรื่น และความเป็นปึกแผ่นใน
Max Weber : ทฤษฎีการจัดการตามระบบราชการ (Bureaucratic Management)
แนวคิดการจัดองค์กรของเว็บเบอร์มี 6 ประการมีดังนี้ คือ
1. องค์การ ต้องมีการจัดแบ่งงานออกเป็นส่วนๆ (Division of labor)
2. องค์การนั้นต้องมีสายบังคับบัญชาตามลำดับชั้น ( Authority Hierarchy)
3. ระบบการคัดเลือกคนนั้นต้องกระทำอย่างเป็นทางการ ( Formal Selection)
4. องค์การต้องมีระเบียบ และกฏเกณฑ์ (Formal Rules and Regulations)
5. ความไม่เลือกที่รักมักที่ชัง ( Impersonality)
6. การแยกระบบการทำงานออกเป็นสายอาชีพ (Career Orientation)
Luther Gulick : POSDCORB
กิจกรรม 7 ประการมีดังนี้
P - Plannin
O - Organizing
S - Staffing
D - Directing
CO - Coordinating
R - Reporting
B - Budgeting
Frederick Herzberg : ทฤษฎี 2 ปัจจัย (Two Factors Theory)
ทฤษฎีเกี่ยวกับแรงจูงใจโดยเฟรเดอริค เฮิร์ซเบอร์ก (Frederick Herzberg)
แรงจูงใจของมนุษย์จะประกอบด้วย 2 ปัจจัย คือ
1. ปัจจัยภายนอกหรือเรียกว่า Hygiene Factors
2. ปัจจัยภายใน หรือ Motivation Factors
ปัจจัยภายนอก(Hygiene Factors) ได้แก่
* นโยบายขององค์กร
* การบังคับบัญชา
* ความสัมพันธ์กับหัวหน้างาน
* สภาพแวดล้อม/เงื่อนไขในการทำงาน
* ค่าจ้าง/เงินเดือน/สวัสดิการ
* ความสัมพันธ์กับเพื่อนร่วมงาน
ปัจจัยภายใน(Motivation Factors) ได้แก่
* การทำงานบรรลุผลสำเร็จ
* การได้รับการยอมรับ
* ทำงานได้ด้วยตนเอง
* ความรับผิดชอบ
* ความก้าวหน้าในงาน
* การเจริญเติบโต
นอกจากนี้เฮิร์ซเบอร์กยังบอกอีกว่า
1.องค์กรควรจะให้คนทำงานที่ท้าทายอย่างเต็มความสามารถ
2.พนักงานที่ทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพและเต็มความสามารถจะต้องได้รับการเพิ่มความรับผิดชอบให้สูงขึ้น
3.หากงานไม่มีความท้าทาย และไม่ทำให้คนทำงานได้อย่างเต็มความสามารถแล้วจะเกิดปัญหาในเรื่องของแรงจูงใจในการทำงาน
Frederick W. Taylor : ทฤษฏีการจัดการตามหลักวิทยาศาสตร์
ปรัชญาการบริหารของเทย์เลอร์ได้แก่
1.ทำการศึกษางานแต่ละส่วนด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์และพัฒนาวิธีการที่ดีที่สุดสำหรับการทำงานแต่ละอย่าง
2.ใช้หลักการทางวิทยาศาสตร์ในการคัดเลือกและการฝึกอบรมพนักงานและมอบหมายความรับผิดชอบให้ทำงานที่เหมาะสมที่สุดสำหรับแต่ละคน
3. มีการประสานงานกันอย่างใกล้ชิดระหว่างผู้บริหารและพนักงาน
4. แบ่งงานและความรับผิดชอบในงานเป็นส่วนต่าง ๆ
เทย์เลอร์ได้พัฒนาวิธีการจ่ายค่าจ้างต่อหน่วยแบบสองระดับ(Different rate system)
ความรู้ทั่วไปและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน
1.1 ความรู้ทั่วไปและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน( 50 คะแนน)
1. นโยบายรัฐบาล แผนการบริหาราชการแผ่นดินและวาระแห่งชาติ
2. สถานการณ์ทางเศรษฐกิจ สังคม และการเมืองของประเทศไทยในปัจจุบัน
3. การบริหารยุคใหม่ การบริหารการเปลี่ยนแปลงและทฤษฏีทางการบริหาร
4. หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
5. กฎหมายว่าด้วยการศึกษาแห่งชาติ
6. กฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ
7. กฎหมายว่าด้วย สภาครูและบุคลากรทางการศึกษา
8. กฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
9. กฎหมายว่าด้วยระเบียบ วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง
10. กฎหมายว่าด้วย ข้อมูลข่าวสารทางราชการ
11. กฎหมายว่าด้วย การจัดการศึกษาสำหรับคนพิการ
12. กฎหมายว่าด้วย คุ้มครองเด็ก
13. กฎหมายว่าด้วย หลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี
**********************************************
1. นโยบายรัฐบาล แผนการบริหาราชการแผ่นดิน และวาระแห่งชาติ
นโยบายรัฐบางยิ่งลักษณ์
- แถลงวันอังคารที่ 23 สิงหาคม 2554
- แต่งตั้งนายก 5 สิงหาคม 2554
- แต่งตั้งครม.9สิงหาคม 2554
- ครอบคลุมถึง แนวนโยบายแห่งรัฐ หมวด 5 ของรัฐธรรมนูญไทย
- หลักการและเหตุผล
o การเปลี่ยนผ่านของเศรษฐกิจ
o การเปลี่ยนผ่านทางการเมือง
o การเปลี่ยนผ่านโครงสร้างประชากรและสังคมไทย
-
นโยบายของรัฐบาล มีจุดมุ่งหมาย 3 ประการ ประกอบด้วย
1.นำประเทศไทยไปสู่โครงสร้างเศรษฐกิจที่สมดุล มีความเข้มแข็งของเศรษฐกิจภายในประเทศมากขึ้น
2.นำประเทศไทยสู่สังคมที่มีความปรองดองสมานฉันท์
3.นำประเทศไทยไปสู่การเป็นประชาคมอาเซียนในปี 2558 อย่างสมบูรณ์
นโยบายรัฐบาลยิ่งลักษณ์ 8 ข้อ
1.นโยบายเร่งด่วนที่จะดำเนินการในปีแรก
2.นโยบายความมั่นคงแห่งรัฐ
3.นโยบายเศรษฐกิจ
4.นโยบายสังคมและคุณภาพชีวิต
5.นโยบายที่ดิน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
6.นโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีการวิจัย และนวัตกรรม
7.นโยบายการต่างประเทศและเศรษฐกิจระหว่างประเทศ
8.นโยบายการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี
นโยบายรัฐบาลยิ่งลักษณ์มี 2 ระยะ8 ข้อ-16 เรื่องด่วน คือ
1. ระยะเร่งด่วน -ดำเนินการในปีแรก
2. ระยะบริหารราชการ 4 ปี
1.นโยบายเร่งด่วน คือ
1) สร้างความปรองดองสมานฉันท์ เยียวยาและฟื้นฟูทุกฝ่าย
คณะกรรมการอิสระตรวจสอบและค้นหาความจริงเพื่อการปรองดองแห่งชาติ (คอป.) ดำเนินการอย่างเป็นอิสระ
2) กำหนดให้การแก้ไขและป้องกันปัญหายาเสพติดเป็น “วาระแห่งชาติ” /ยึดหลักนิติธรรม
3) ป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบในภาครัฐอย่างจริงจัง
4) ส่งเสริมการบริหารจัดการน้ำอย่างบูรณาการและเร่งรัดขยายเขตพื้นที่ชลประทาน
5) เร่งนำสันติสุขและความปลอดภัยกลับมาสู่พื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ โดยน้อมนำกระแสพระราชดำรัส “เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา” เป็นหลักปฏิบัติ
6) เร่งฟื้นฟูความสัมพันธ์และพัฒนาความร่วมมือกับประเทศเพื่อนบ้านและนานาประเทศ
7) แก้ไขความเดือดร้อนของประชาชนและผู้ประกอบการเนื่องจากภาวะเงินเฟ้อและราคาน้ำมันเชื้อเพลิง
- ชะลอการเก็บเงินเข้ากองทุนน้ำมันเชื้อเพลิงชั่วคราว
- บัตรเครดิตพลังงานสำหรับผู้ประกอบอาชีพรถรับจ้างขนส่งผู้โดยสารสาธารณะ
8) ยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชน โดยเพิ่มกำลังซื้อภายในสร้างสมดุลและความเข้มแข็งอย่างมีคุณภาพให้แก่ระบบเศรษฐกิจมหภาค
- พักหนี้ครัวเรือนของเกษตรกรรายย่อย มีหนี้ต่ำกว่า 500,000 บาท อย่างน้อย 3 ปี
- ปรับโครงสร้างหนี้สำหรับผู้ที่มีหนี้เกิน 500,000 บาท
- ทำให้แรงงานมีรายได้เป็นวันละไม่น้อยกว่า 300 บาท
- ผู้จบปริญญาตรีมีรายได้เดือนละไม่น้อยกว่า 15,000 บาท
- จ่ายเบี้ยสูงอายุแบบขั้นบันได อายุ 60-69 ปี 600 บาท, อายุ 70-79 ปี 700 บาท, อายุ 80-89 ปี 800 บาท และอายุ 90 ปีขึ้นไป ได้รับ 1,000 บาท
- ลดภาษีบ้านหลังแรกและรถยนต์คันแรก
9) ลดภาษีเงินได้นิติบุคคล เหลือร้อยละ 23 ในปี 2555 และเหลือร้อยละ 20 ในปี 2556
10) ส่งเสริมให้ประชาชนเข้าถึงแหล่งเงินทุน
- เพิ่มเงินทุนกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองอีกแห่งละ 1 ล้านบาท
- จัดตั้งกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี วงเงินเฉลี่ยจังหวัดละ 100 ล้านบาท
- ตั้งกองทุนตั้งตัวได้วงเงิน 1,000 ล้านบาท ต่อสถาบันอุดมศึกษาที่ร่วมโครงการ
- จัดสรรงบประมาณเข้ากองทุนเอสเอ็มแอล 300,000 400,000 และ 500,000 บาทตามขนาดหมู่บ้าน เพื่อพัฒนากองทุนด้วยตนเอง
11) ยกระดับราคาสินค้าเกษตรและให้เกษตรกรเข้าถึงแหล่งเงินทุน
- เริ่มจากการรับจำนำข้าวเปลือกเจ้าและข้าวเปลือกหอมมะลิ เกวียนละ 15,000 บาท และ 20,000 บาท
- จัดทำทะเบียนครัวเรือนเกษตรกรและการออกบัตรเครดิตสำหรับเกษตรกร
12) เร่งเพิ่มรายได้จากการท่องเที่ยวทั้งในและนอกประเทศ
- โดยประกาศให้ปี 2554-2555 เป็นปี “มหัศจรรย์ไทยแลนด์” Miracle ThaiLand
13) สนับสนุนการพัฒนางานศิลปหัตถกรรมและผลิตภัณฑ์ชุมชน
14) พัฒนาระบบประกันสุขภาพ เพิ่มประสิทธิภาพระบบ 30 บาทรักษาทุกโรค ให้ทุกคนได้รับบริการอย่างมีคุณภาพ สะดวก รวดเร็วและเป็นธรรม เบาหวาน ความดันโลหิตสูง หัวใจ โรคหลอดเลือด มะเร็ง
15) จัดหาเครื่องคอมพิวเตอร์แท็บเล็ตให้แก่โรงเรียน เริ่มในโรงเรียนนำร่องแก่นักเรียน ป. 1 ปีการศึกษา 2555
16) เร่งรัดและผลักดันการปฏิรูปการเมืองที่ประชาชนมีส่วนร่วม โดยมีภาร่างรัฐธรรมนูญ (ส.ส.ร.) ที่เป็นอิสระยกร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ โดยให้ประชาชนเห็นชอบผ่านการออกเสียงประชามติ
ส่วนนโยบายที่จะดำเนินการภายในช่วงระยะ 4 ปี จะดำเนินนโยบายหลักจากข้อ 2-8 ดังนี้
2.นโยบายความมั่นคงแห่งรัฐ
- เทิดทูนและรักษาสถาบันพระมหากษัตริย์ เพื่อให้สังคมไทยเป็นสังคมแห่งการเรียนรู้และพอเพียง
- พัฒนาเสริมสร้างศักยภาพกองทัพ
- พัฒนาเสริมสร้างความร่วมมือระหว่างประเทศ
- พัฒนาระบบเตรียมพร้อมแห่งชาติ
- เร่งแก้ไขปัญหายาเสพติด
3.นโยบายเศรษฐกิจ
3.1 นโยบายเศรษฐกิจมหภาค
- กระจายรายได้ที่เป็นธรรม
- ส่งเสริมเข้าถึงแหล่งทุน
- พัฒนาระบบสถาบันการเงิน
- ปรับโครงสร้างภาษีอากรทั้งระบบ
- รักษาวินัยการคลัง
- ปรับปรุงโครงรัฐวิสาหกิจ
- บริหารสินทรัพย์ของประเทศ กองทุนมั่งคั่ง กองทุนน้ำมันเชื้อเพลิง กองทุนอาหาร กองทุนครู
3.2 นโยบายสร้างรายได้
- ส่งเสริมการท่องเที่ยว เชิงอนุรักษ์ วัฒนธรรม /รายได้จากนักท่องเที่ยวเพิ่ม 2 เท่าใน 5 ปี
- ขยายบทบาทธุรกิจเกษตร ให้ไทยเป็นศูนย์กลางตลาดซื้อขาย ข้าว น้ำตาล มันสันประหลัง
- ผลักดันพลังงานปิโตรเลี่ยมและพลังงานทดแทน
- ยกความสามารถแข่งขันขยายช่องทางตลาด
- สร้างนวัตกรรมจากงานวิจัย/พัฒนาสร้างตราสินค้าใหม่
- ส่งเสริมการลงทุนในประเทศเพื่อนบ้าน
- ดึงดูดการลงทุนเข้าสู่ประเทศ
- สร้างกระบวนการสร้างอาชีพ/ตั้งกองทุนต่างๆสนับการเกิดการผลิต การแปรรูปการค้าที่ทันสมัย
- ส่งเสริมการขยายการเชื่อมโยงทางการค้า /แสวงหาโอกาส ความพร้อมรองรับผลกระทบ
3.3 นโยบายปรับโครงสร้างเศรษฐกิจ
3.3.1 ภาคเกษตร
- สภาเกษตรกรแห่งชาติ
- วิจัยพัฒนาสายพันธ์
- ผลิตด้านปศุสัตว์ได้มาตรฐานปลอดภัย เป็นมิตรสิ่งแวดล้อม
- พัฒนาการประมง ตรวจสอบน้ำตามมาตรฐานสากล
- เสริมสร้างครัวเรือนให้เข้มแข็ง/เทคโนโลยีและภูมิปัญญาชาวบ้าน
- จัดทำระบบทะเบียนครัวเรือนข้อมูลการเกษตร
- เร่งรัดพัฒนาธุรกิจเกษตร
- พัฒนาอุตสาหกรรมมูลค่าเพิ่ม
- ส่งเสริมเกษตรทฤษฎีใหม่
3.3.2 อุตสาหกรรม
- ยกระดับการแข่งขันภาคอุตสาหกรรม
- อุตสาหกรรมสร้างสรรค์ด้วยปัญญา เทคโนโลยี
- อุตสาหกรรมแปรรูปเกษตร ภูมิปัญญาท้องถิ่น
- ช่องการเข้าถึงแหล่งสินเชื่อ
- กำหนดมาตรฐานสินค้าขั้นพื้นฐาน
- พัฒนาอุตสาหกรรมแหล่งใหม่
- เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม รับผิดชอบสังคม
- มาตรการภาษี ให้ประหยัดพลังงาน
- ประกอบการในนิคมอุตสาหกรรม
- แสวงหาแหล่งแร่สำคัญ
3.3.3 การท่องเที่ยว บริการ การกีฬา
- พัฒนาการท่องเที่ยว – เจ้าภาพจัดกิจกรรมนานาชาติขนาดใหญ่
- พัฒนาภาคบริการ – องค์ความรู้ เพิ่มมูลค่า
- พัฒนาการกีฬา – ศูนย์การกีฬาของภูมิภาคและโลก
3.3.4 การตลาด การค้า การลงทุน
ศูนย์กลางผลิตอาหารฮาลาล การค้าเสรี พหุภาคี /ทวิภาคี
3.4 นโยบายโครงสร้างพื้นฐาน การพัฒนาระบบรางขนส่ง
- พัฒนารถไฟความเร็วสูง กทม-เชียงใหม่,กทม-นครราชสีมา,กทม-หัวหิน
- แอร์พอตลิ้ง ชลบุรี-พัทยา
- รถไฟฟ้า 10สาย ใน4 ปี เก็บค่าโดยสาร 20 บาทตลอดสาย
- ท่าอากาศยานสากล
3.5 นโยบายพลังงาน
- อุตสาหกรรมสร้างรายได้ให้ประเทศ
- ความมั่นคงทางพลังงาน
3.6 นโยบายสารสนเทศ
- เร่งรัดพัฒนาโครงข่ายสื่อสารความเร็วสูง
- เข้าถึงการใช้บริหารเครือข่ายอินเทอร์เน็ต สถานที่ราชการ สถานศึกษาโดยไม่คิดค่าใช้จ่าย
- ใช้คลื่นความถี่ให้เกิดประโยชน์สูงสุด
- ระบบสื่อวิทยุกระจายเสียงเปลี่ยนจากระบบอนาล๊อกเป็นระบบดิจิตอล
- ส่งเสริมการพัฒนาซอฟต์แวร์ ฮาร์ดแวร์ อุตสาหกรรม
4.นโยบายด้านสังคมและคุณภาพชีวิต
4.1 นโยบายการศึกษา
- เร่งพัฒนาคุณภาพการศึกษา
o ปฎิรูประบบความรู้ของสังคมไทย
o โครงการสร้างตำรา
o จัดให้มีระบบจัดการความรู้
o ปฏิรูปการศึกษาทุกระดับ
o ผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาทุกระดับวัดผลจากการผ่านการทดสอบมาตรฐานในระดับชาติ นานาชาติ
o ขจัดความไม่รู้หนังสือให้สิ้นไปจากสังคมไทย
o จัดครูดีเพียงพอทุกห้องเรียน
o พัฒนามหาวิทยาสู่ระดับโลก
o พัฒนาระบบการศึกษาให้ผู้เรียนมีความรู้คู่คุณธรรม
- สร้างโอกาสทางการศึกษา
o กระจายโอกาสทางการศึกษาให้เข้าถึงทุกกลุ่ม
o ส่งเสริมการให้ความรู้ตั้งแต่ครรภ์มารดาถึงแรกเกิด
o จัดโครงการเงินกู้เพื่อการศึกษาที่ผูกพันกับรายได้ในอนาคต(กรอ.)
o โครงการ 1 อำเภอ 1 ทุน
- ปฏิรูปครู
o พัฒนาระบบความก้าวหน้าของครูโดยใช้การประเมินเชิงประจักษ์ที่อิงขีดความสามารถ และวัดผลสัมฤทธิ์ของการจัดการศึกษา เป็นหลัก
- จัดการศึกษาขั้นอุดมศึกษาให้สอดคล้องตลาดแรงงาน
o ผู้จบการศึกษามีงานทำทันที
- เร่งพัฒนาการใช้เทคโนโลยีเพื่อการศึกษาให้ทัดเทียมนานาชาติ
o จัดระบบการเรียนแบบอิเล็กทรอนิกส์
o พัฒนาระบบไวเบอร์โฮม
o อุปกรณ์แท็บเล็ต
o มาตรฐานห้องเรียนอิเล็กทรอนิกส์
o กองทุนเพื่อพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา
- สนับสนุนการวิจัยและพัฒนาเพื่อสร้างทุนปัญญาของชาติ
o พัฒนามหาวิทยาลัยให้มุ่งสู่มหาวิทยาลัยระดับโลก
o มหาวิทยาลัยวิจัยมี 9 แห่ง คือ เกษตรศาสตร์ มหิดล เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี เชียงใหม่ สงขลา สุรนารี จุฬา ธรรมศาสตร์ ขอนแก่น
- เพิ่มขีดความสามารถของทรัพยกรมนุษย์รองรับการเปิดเสรีอาเซียน
o การจัดทำมาตรฐานคุณวุฒิวิชาชีพรับรองสมรรถนะการปฏิบัติงานตามมาตรฐานอาชีพ
5.นโยบายที่ดิน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม อนุรักษ์และฟื้นฟูทรัพยากรป่าไม้และสัตว์ ทรัพยากรทางทะเล สร้างความเป็นธรรมและลดความเหลื่อมล้ำในการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ
6.นโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี การวิจัยและนวัตกรรม เร่งสร้างนักวิทยาศาสตร์ นักวิจัย และครูวิทยาศาสตร์ให้เพียงพอ ส่งเสริมสนับสนุนการวิจัยและพัฒนา ส่งเสริมความร่วมมือกับประเทศมุสลิม และองค์กรอิสลามระหว่างประเทศ
7.นโยบายการต่างประเทศ และเศรษฐกิจระหว่างประเทศ เร่งส่งเสริมและพัฒนาความสัมพันธ์กับเพื่อนบ้าน ส่งเสริมผลประโยชน์ของชาติในองค์กรระหว่างประเทศร
8.นโยบายการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี
พัฒนาระบบราชการ สร้างเสริมมาตรฐานด้านคุณธรรม จริยธรรม และธรรมาภิบาล รวมถึงปฏิรูประบบกฎหมายและพัฒนากระบวนการยุติธรรม ให้ทันสมัย สอดคล้องหลักการประชาธิปไตย เร่งรัดจัดตั้งองค์กรเพื่อการปฏิรูปกระบวนการยุติรรมที่ดำเนินการโดยอิสระ และปรับปรุงระบบการช่วยเหลือประชาชนให้เข้าถึงความเป็นธรรมโดยง่าย ส่งเสริมให้ประชาชนมีโอกาสได้รับรู้ข่าวสารจากทางราชการ สื่อสารมวลชนและสื่อสาธารณะ
นโยบาย รมต.สุชาติ ธาดาธำรงเวช (ศ.ดร.สุชาติ ธาดาธำรงเวช)
ปรัชญา
เน้นปรัชญา “ความเท่าเทียมและการนำเทคโนโลยี” จัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน “ที่มีคุณภาพสำหรับเยาวชนทุกคนทุกพื้นที่ “จัดการอุดมศึกษาโดย “ปั้นนักศึกษาไทยให้เป็นมืออาชีพ”
นโยบาย
1. จัดการศึกษาที่มีคุณภาพสำหรับเยาวชนทุกคน
2. ปั้นนักศึกษาไทยให้เป็นมืออาชีพ
การขยายโอกาสทางการศึกษา 4 ด้าน
1. โอกาสในการเข้าถึงทรัพยากร
1.1. โครงการ One Tablet Per Child
1.2. สร้างห้องการเรียนรู้ ครูเปิดสอนพิเศษรัฐจ่ายเงินให้ ซื้อซอฟต์แวร์ e-book เกิด e-learnning เพื่อสร้าง knowledge Based Society
1.3. โครงการ e=Education เพื่อให้โรงเรียนเป็นศูนย์การเรียนรู้ตลอดชีวิต ส่งเสริมการศึกษาที่มีประสิทธิภาพสูงตรงกับความต้องการที่แท้จริง
1.4. โครงการโรงเรียนประถมศึกษาและมัธยมศึกษาในฝันสู่อุดมศึกษาชั้นยอด ให้มีคณะกรรมการโรงเรียน School Board
1.5. โครงการพลังครู พัฒนาศักยภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา แก้ไขปัญหาหนึ้สินครู โดยลดรายจ่าย เพิ่มรายได้ ขยายโอกาส
1.6. โครงการศูนย์การศึกษานานาชาติ
1.7. หนึ่งโรงเรียนหนึ่งพยาบาล
1.8. โรงเรียนตัวอย่างทุกอำเภอ พัฒนาศักยภาพของโรงเรียนให้เป็นเลิศ โดยใช้การติดต่อสื่อสารด้วยวิทยาการสมัยใหม่
2. โอกาสในการเข้าถึงแหล่งทุน เข้าเรียนได้โดยไม่ต้องกังวลในเรื่องทุนการศึกษา
1.1. Smaart Card เพื่อการศึกษาขั้นพื้นฐาน
1.2. โครงการเรียนก่อนผ่อนทีหลัง ส่งคืนเมื่อมีรายได้ Income Contigency Loan Program
1.3. โครงการสานฝันนักเรียนไปเรียนต่างประเทศ (โครงการหนึ่งอำเภอหนึ่งทุน)
1.4. กองทุนตั้งตัวได้
3. โอกาสในการเพิ่มพูนและฝึกฝนทักษะนักเรียนทุกคนสามารถเติบโตได้ในโลกที่เป็นจริง เรียนรู้บนการทำกิจกรรม Activity Based Learnning
1.1. ส่งเสริมอาชีวศึกษา ให้ความสำคัญมากขึ้น ให้ความรู้ทางปฏิบัติ อย่างแท้จริง
1.2. ศูนย์ซ่อมสร้างเพื่อชุมชน Fix It Center
1.3. โครงการอัจฉริยะสร้างได้ ค้นหาความสามารถของตนเองทุกสาขา
1.4. โครงการ 1 ดนตรี 1 กีฬา 2 ภาษา อังกฤษ จีน คณิต วิทย์
1.5. ปรับปรุงหลักสูตรเลิกการท่องจำ ใช้การเรียนรู้
1.6. คนไทยอายุ 25 ปีสามารถเทียบความรู้จบชั้น ม.6 ได้
1.7. สถาบันการศึกษา ราชภัฎและอาชีวะศึกษา ค้นหาความสามารถของตนเอง ให้ความสำคัญมากขึ้นและมีความรู้ปฏิบัติอย่างแท้จริง
1.8. จัดศูนย์ฝึกอบรม จัดศูนย์ฝึกในอาชีวะศึกษา ให้คนไทยเรียนรู้ พัฒนาทักษะให้คนไทยชำนาญในแต่ละสาขา
4. โอกาสในการเรียนรู้ตลอดชีวิต
1.1. อินเทอร์เน็ตตำบล อินเทอร์เน็ตหมู่บ้าน
1.2. สถานที่รวมกลุ่มอย่างสร้างสรรค์แก่เด็กวัยเรียนโดยมีคอมพิวเตอร์ไว้ใช้
1. นโยบายรัฐบาล แผนการบริหาราชการแผ่นดินและวาระแห่งชาติ
2. สถานการณ์ทางเศรษฐกิจ สังคม และการเมืองของประเทศไทยในปัจจุบัน
3. การบริหารยุคใหม่ การบริหารการเปลี่ยนแปลงและทฤษฏีทางการบริหาร
4. หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
5. กฎหมายว่าด้วยการศึกษาแห่งชาติ
6. กฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ
7. กฎหมายว่าด้วย สภาครูและบุคลากรทางการศึกษา
8. กฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
9. กฎหมายว่าด้วยระเบียบ วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง
10. กฎหมายว่าด้วย ข้อมูลข่าวสารทางราชการ
11. กฎหมายว่าด้วย การจัดการศึกษาสำหรับคนพิการ
12. กฎหมายว่าด้วย คุ้มครองเด็ก
13. กฎหมายว่าด้วย หลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี
**********************************************
1. นโยบายรัฐบาล แผนการบริหาราชการแผ่นดิน และวาระแห่งชาติ
นโยบายรัฐบางยิ่งลักษณ์
- แถลงวันอังคารที่ 23 สิงหาคม 2554
- แต่งตั้งนายก 5 สิงหาคม 2554
- แต่งตั้งครม.9สิงหาคม 2554
- ครอบคลุมถึง แนวนโยบายแห่งรัฐ หมวด 5 ของรัฐธรรมนูญไทย
- หลักการและเหตุผล
o การเปลี่ยนผ่านของเศรษฐกิจ
o การเปลี่ยนผ่านทางการเมือง
o การเปลี่ยนผ่านโครงสร้างประชากรและสังคมไทย
-
นโยบายของรัฐบาล มีจุดมุ่งหมาย 3 ประการ ประกอบด้วย
1.นำประเทศไทยไปสู่โครงสร้างเศรษฐกิจที่สมดุล มีความเข้มแข็งของเศรษฐกิจภายในประเทศมากขึ้น
2.นำประเทศไทยสู่สังคมที่มีความปรองดองสมานฉันท์
3.นำประเทศไทยไปสู่การเป็นประชาคมอาเซียนในปี 2558 อย่างสมบูรณ์
นโยบายรัฐบาลยิ่งลักษณ์ 8 ข้อ
1.นโยบายเร่งด่วนที่จะดำเนินการในปีแรก
2.นโยบายความมั่นคงแห่งรัฐ
3.นโยบายเศรษฐกิจ
4.นโยบายสังคมและคุณภาพชีวิต
5.นโยบายที่ดิน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
6.นโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีการวิจัย และนวัตกรรม
7.นโยบายการต่างประเทศและเศรษฐกิจระหว่างประเทศ
8.นโยบายการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี
นโยบายรัฐบาลยิ่งลักษณ์มี 2 ระยะ8 ข้อ-16 เรื่องด่วน คือ
1. ระยะเร่งด่วน -ดำเนินการในปีแรก
2. ระยะบริหารราชการ 4 ปี
1.นโยบายเร่งด่วน คือ
1) สร้างความปรองดองสมานฉันท์ เยียวยาและฟื้นฟูทุกฝ่าย
คณะกรรมการอิสระตรวจสอบและค้นหาความจริงเพื่อการปรองดองแห่งชาติ (คอป.) ดำเนินการอย่างเป็นอิสระ
2) กำหนดให้การแก้ไขและป้องกันปัญหายาเสพติดเป็น “วาระแห่งชาติ” /ยึดหลักนิติธรรม
3) ป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบในภาครัฐอย่างจริงจัง
4) ส่งเสริมการบริหารจัดการน้ำอย่างบูรณาการและเร่งรัดขยายเขตพื้นที่ชลประทาน
5) เร่งนำสันติสุขและความปลอดภัยกลับมาสู่พื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ โดยน้อมนำกระแสพระราชดำรัส “เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา” เป็นหลักปฏิบัติ
6) เร่งฟื้นฟูความสัมพันธ์และพัฒนาความร่วมมือกับประเทศเพื่อนบ้านและนานาประเทศ
7) แก้ไขความเดือดร้อนของประชาชนและผู้ประกอบการเนื่องจากภาวะเงินเฟ้อและราคาน้ำมันเชื้อเพลิง
- ชะลอการเก็บเงินเข้ากองทุนน้ำมันเชื้อเพลิงชั่วคราว
- บัตรเครดิตพลังงานสำหรับผู้ประกอบอาชีพรถรับจ้างขนส่งผู้โดยสารสาธารณะ
8) ยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชน โดยเพิ่มกำลังซื้อภายในสร้างสมดุลและความเข้มแข็งอย่างมีคุณภาพให้แก่ระบบเศรษฐกิจมหภาค
- พักหนี้ครัวเรือนของเกษตรกรรายย่อย มีหนี้ต่ำกว่า 500,000 บาท อย่างน้อย 3 ปี
- ปรับโครงสร้างหนี้สำหรับผู้ที่มีหนี้เกิน 500,000 บาท
- ทำให้แรงงานมีรายได้เป็นวันละไม่น้อยกว่า 300 บาท
- ผู้จบปริญญาตรีมีรายได้เดือนละไม่น้อยกว่า 15,000 บาท
- จ่ายเบี้ยสูงอายุแบบขั้นบันได อายุ 60-69 ปี 600 บาท, อายุ 70-79 ปี 700 บาท, อายุ 80-89 ปี 800 บาท และอายุ 90 ปีขึ้นไป ได้รับ 1,000 บาท
- ลดภาษีบ้านหลังแรกและรถยนต์คันแรก
9) ลดภาษีเงินได้นิติบุคคล เหลือร้อยละ 23 ในปี 2555 และเหลือร้อยละ 20 ในปี 2556
10) ส่งเสริมให้ประชาชนเข้าถึงแหล่งเงินทุน
- เพิ่มเงินทุนกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองอีกแห่งละ 1 ล้านบาท
- จัดตั้งกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี วงเงินเฉลี่ยจังหวัดละ 100 ล้านบาท
- ตั้งกองทุนตั้งตัวได้วงเงิน 1,000 ล้านบาท ต่อสถาบันอุดมศึกษาที่ร่วมโครงการ
- จัดสรรงบประมาณเข้ากองทุนเอสเอ็มแอล 300,000 400,000 และ 500,000 บาทตามขนาดหมู่บ้าน เพื่อพัฒนากองทุนด้วยตนเอง
11) ยกระดับราคาสินค้าเกษตรและให้เกษตรกรเข้าถึงแหล่งเงินทุน
- เริ่มจากการรับจำนำข้าวเปลือกเจ้าและข้าวเปลือกหอมมะลิ เกวียนละ 15,000 บาท และ 20,000 บาท
- จัดทำทะเบียนครัวเรือนเกษตรกรและการออกบัตรเครดิตสำหรับเกษตรกร
12) เร่งเพิ่มรายได้จากการท่องเที่ยวทั้งในและนอกประเทศ
- โดยประกาศให้ปี 2554-2555 เป็นปี “มหัศจรรย์ไทยแลนด์” Miracle ThaiLand
13) สนับสนุนการพัฒนางานศิลปหัตถกรรมและผลิตภัณฑ์ชุมชน
14) พัฒนาระบบประกันสุขภาพ เพิ่มประสิทธิภาพระบบ 30 บาทรักษาทุกโรค ให้ทุกคนได้รับบริการอย่างมีคุณภาพ สะดวก รวดเร็วและเป็นธรรม เบาหวาน ความดันโลหิตสูง หัวใจ โรคหลอดเลือด มะเร็ง
15) จัดหาเครื่องคอมพิวเตอร์แท็บเล็ตให้แก่โรงเรียน เริ่มในโรงเรียนนำร่องแก่นักเรียน ป. 1 ปีการศึกษา 2555
16) เร่งรัดและผลักดันการปฏิรูปการเมืองที่ประชาชนมีส่วนร่วม โดยมีภาร่างรัฐธรรมนูญ (ส.ส.ร.) ที่เป็นอิสระยกร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ โดยให้ประชาชนเห็นชอบผ่านการออกเสียงประชามติ
ส่วนนโยบายที่จะดำเนินการภายในช่วงระยะ 4 ปี จะดำเนินนโยบายหลักจากข้อ 2-8 ดังนี้
2.นโยบายความมั่นคงแห่งรัฐ
- เทิดทูนและรักษาสถาบันพระมหากษัตริย์ เพื่อให้สังคมไทยเป็นสังคมแห่งการเรียนรู้และพอเพียง
- พัฒนาเสริมสร้างศักยภาพกองทัพ
- พัฒนาเสริมสร้างความร่วมมือระหว่างประเทศ
- พัฒนาระบบเตรียมพร้อมแห่งชาติ
- เร่งแก้ไขปัญหายาเสพติด
3.นโยบายเศรษฐกิจ
3.1 นโยบายเศรษฐกิจมหภาค
- กระจายรายได้ที่เป็นธรรม
- ส่งเสริมเข้าถึงแหล่งทุน
- พัฒนาระบบสถาบันการเงิน
- ปรับโครงสร้างภาษีอากรทั้งระบบ
- รักษาวินัยการคลัง
- ปรับปรุงโครงรัฐวิสาหกิจ
- บริหารสินทรัพย์ของประเทศ กองทุนมั่งคั่ง กองทุนน้ำมันเชื้อเพลิง กองทุนอาหาร กองทุนครู
3.2 นโยบายสร้างรายได้
- ส่งเสริมการท่องเที่ยว เชิงอนุรักษ์ วัฒนธรรม /รายได้จากนักท่องเที่ยวเพิ่ม 2 เท่าใน 5 ปี
- ขยายบทบาทธุรกิจเกษตร ให้ไทยเป็นศูนย์กลางตลาดซื้อขาย ข้าว น้ำตาล มันสันประหลัง
- ผลักดันพลังงานปิโตรเลี่ยมและพลังงานทดแทน
- ยกความสามารถแข่งขันขยายช่องทางตลาด
- สร้างนวัตกรรมจากงานวิจัย/พัฒนาสร้างตราสินค้าใหม่
- ส่งเสริมการลงทุนในประเทศเพื่อนบ้าน
- ดึงดูดการลงทุนเข้าสู่ประเทศ
- สร้างกระบวนการสร้างอาชีพ/ตั้งกองทุนต่างๆสนับการเกิดการผลิต การแปรรูปการค้าที่ทันสมัย
- ส่งเสริมการขยายการเชื่อมโยงทางการค้า /แสวงหาโอกาส ความพร้อมรองรับผลกระทบ
3.3 นโยบายปรับโครงสร้างเศรษฐกิจ
3.3.1 ภาคเกษตร
- สภาเกษตรกรแห่งชาติ
- วิจัยพัฒนาสายพันธ์
- ผลิตด้านปศุสัตว์ได้มาตรฐานปลอดภัย เป็นมิตรสิ่งแวดล้อม
- พัฒนาการประมง ตรวจสอบน้ำตามมาตรฐานสากล
- เสริมสร้างครัวเรือนให้เข้มแข็ง/เทคโนโลยีและภูมิปัญญาชาวบ้าน
- จัดทำระบบทะเบียนครัวเรือนข้อมูลการเกษตร
- เร่งรัดพัฒนาธุรกิจเกษตร
- พัฒนาอุตสาหกรรมมูลค่าเพิ่ม
- ส่งเสริมเกษตรทฤษฎีใหม่
3.3.2 อุตสาหกรรม
- ยกระดับการแข่งขันภาคอุตสาหกรรม
- อุตสาหกรรมสร้างสรรค์ด้วยปัญญา เทคโนโลยี
- อุตสาหกรรมแปรรูปเกษตร ภูมิปัญญาท้องถิ่น
- ช่องการเข้าถึงแหล่งสินเชื่อ
- กำหนดมาตรฐานสินค้าขั้นพื้นฐาน
- พัฒนาอุตสาหกรรมแหล่งใหม่
- เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม รับผิดชอบสังคม
- มาตรการภาษี ให้ประหยัดพลังงาน
- ประกอบการในนิคมอุตสาหกรรม
- แสวงหาแหล่งแร่สำคัญ
3.3.3 การท่องเที่ยว บริการ การกีฬา
- พัฒนาการท่องเที่ยว – เจ้าภาพจัดกิจกรรมนานาชาติขนาดใหญ่
- พัฒนาภาคบริการ – องค์ความรู้ เพิ่มมูลค่า
- พัฒนาการกีฬา – ศูนย์การกีฬาของภูมิภาคและโลก
3.3.4 การตลาด การค้า การลงทุน
ศูนย์กลางผลิตอาหารฮาลาล การค้าเสรี พหุภาคี /ทวิภาคี
3.4 นโยบายโครงสร้างพื้นฐาน การพัฒนาระบบรางขนส่ง
- พัฒนารถไฟความเร็วสูง กทม-เชียงใหม่,กทม-นครราชสีมา,กทม-หัวหิน
- แอร์พอตลิ้ง ชลบุรี-พัทยา
- รถไฟฟ้า 10สาย ใน4 ปี เก็บค่าโดยสาร 20 บาทตลอดสาย
- ท่าอากาศยานสากล
3.5 นโยบายพลังงาน
- อุตสาหกรรมสร้างรายได้ให้ประเทศ
- ความมั่นคงทางพลังงาน
3.6 นโยบายสารสนเทศ
- เร่งรัดพัฒนาโครงข่ายสื่อสารความเร็วสูง
- เข้าถึงการใช้บริหารเครือข่ายอินเทอร์เน็ต สถานที่ราชการ สถานศึกษาโดยไม่คิดค่าใช้จ่าย
- ใช้คลื่นความถี่ให้เกิดประโยชน์สูงสุด
- ระบบสื่อวิทยุกระจายเสียงเปลี่ยนจากระบบอนาล๊อกเป็นระบบดิจิตอล
- ส่งเสริมการพัฒนาซอฟต์แวร์ ฮาร์ดแวร์ อุตสาหกรรม
4.นโยบายด้านสังคมและคุณภาพชีวิต
4.1 นโยบายการศึกษา
- เร่งพัฒนาคุณภาพการศึกษา
o ปฎิรูประบบความรู้ของสังคมไทย
o โครงการสร้างตำรา
o จัดให้มีระบบจัดการความรู้
o ปฏิรูปการศึกษาทุกระดับ
o ผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาทุกระดับวัดผลจากการผ่านการทดสอบมาตรฐานในระดับชาติ นานาชาติ
o ขจัดความไม่รู้หนังสือให้สิ้นไปจากสังคมไทย
o จัดครูดีเพียงพอทุกห้องเรียน
o พัฒนามหาวิทยาสู่ระดับโลก
o พัฒนาระบบการศึกษาให้ผู้เรียนมีความรู้คู่คุณธรรม
- สร้างโอกาสทางการศึกษา
o กระจายโอกาสทางการศึกษาให้เข้าถึงทุกกลุ่ม
o ส่งเสริมการให้ความรู้ตั้งแต่ครรภ์มารดาถึงแรกเกิด
o จัดโครงการเงินกู้เพื่อการศึกษาที่ผูกพันกับรายได้ในอนาคต(กรอ.)
o โครงการ 1 อำเภอ 1 ทุน
- ปฏิรูปครู
o พัฒนาระบบความก้าวหน้าของครูโดยใช้การประเมินเชิงประจักษ์ที่อิงขีดความสามารถ และวัดผลสัมฤทธิ์ของการจัดการศึกษา เป็นหลัก
- จัดการศึกษาขั้นอุดมศึกษาให้สอดคล้องตลาดแรงงาน
o ผู้จบการศึกษามีงานทำทันที
- เร่งพัฒนาการใช้เทคโนโลยีเพื่อการศึกษาให้ทัดเทียมนานาชาติ
o จัดระบบการเรียนแบบอิเล็กทรอนิกส์
o พัฒนาระบบไวเบอร์โฮม
o อุปกรณ์แท็บเล็ต
o มาตรฐานห้องเรียนอิเล็กทรอนิกส์
o กองทุนเพื่อพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา
- สนับสนุนการวิจัยและพัฒนาเพื่อสร้างทุนปัญญาของชาติ
o พัฒนามหาวิทยาลัยให้มุ่งสู่มหาวิทยาลัยระดับโลก
o มหาวิทยาลัยวิจัยมี 9 แห่ง คือ เกษตรศาสตร์ มหิดล เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี เชียงใหม่ สงขลา สุรนารี จุฬา ธรรมศาสตร์ ขอนแก่น
- เพิ่มขีดความสามารถของทรัพยกรมนุษย์รองรับการเปิดเสรีอาเซียน
o การจัดทำมาตรฐานคุณวุฒิวิชาชีพรับรองสมรรถนะการปฏิบัติงานตามมาตรฐานอาชีพ
5.นโยบายที่ดิน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม อนุรักษ์และฟื้นฟูทรัพยากรป่าไม้และสัตว์ ทรัพยากรทางทะเล สร้างความเป็นธรรมและลดความเหลื่อมล้ำในการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ
6.นโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี การวิจัยและนวัตกรรม เร่งสร้างนักวิทยาศาสตร์ นักวิจัย และครูวิทยาศาสตร์ให้เพียงพอ ส่งเสริมสนับสนุนการวิจัยและพัฒนา ส่งเสริมความร่วมมือกับประเทศมุสลิม และองค์กรอิสลามระหว่างประเทศ
7.นโยบายการต่างประเทศ และเศรษฐกิจระหว่างประเทศ เร่งส่งเสริมและพัฒนาความสัมพันธ์กับเพื่อนบ้าน ส่งเสริมผลประโยชน์ของชาติในองค์กรระหว่างประเทศร
8.นโยบายการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี
พัฒนาระบบราชการ สร้างเสริมมาตรฐานด้านคุณธรรม จริยธรรม และธรรมาภิบาล รวมถึงปฏิรูประบบกฎหมายและพัฒนากระบวนการยุติธรรม ให้ทันสมัย สอดคล้องหลักการประชาธิปไตย เร่งรัดจัดตั้งองค์กรเพื่อการปฏิรูปกระบวนการยุติรรมที่ดำเนินการโดยอิสระ และปรับปรุงระบบการช่วยเหลือประชาชนให้เข้าถึงความเป็นธรรมโดยง่าย ส่งเสริมให้ประชาชนมีโอกาสได้รับรู้ข่าวสารจากทางราชการ สื่อสารมวลชนและสื่อสาธารณะ
นโยบาย รมต.สุชาติ ธาดาธำรงเวช (ศ.ดร.สุชาติ ธาดาธำรงเวช)
ปรัชญา
เน้นปรัชญา “ความเท่าเทียมและการนำเทคโนโลยี” จัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน “ที่มีคุณภาพสำหรับเยาวชนทุกคนทุกพื้นที่ “จัดการอุดมศึกษาโดย “ปั้นนักศึกษาไทยให้เป็นมืออาชีพ”
นโยบาย
1. จัดการศึกษาที่มีคุณภาพสำหรับเยาวชนทุกคน
2. ปั้นนักศึกษาไทยให้เป็นมืออาชีพ
การขยายโอกาสทางการศึกษา 4 ด้าน
1. โอกาสในการเข้าถึงทรัพยากร
1.1. โครงการ One Tablet Per Child
1.2. สร้างห้องการเรียนรู้ ครูเปิดสอนพิเศษรัฐจ่ายเงินให้ ซื้อซอฟต์แวร์ e-book เกิด e-learnning เพื่อสร้าง knowledge Based Society
1.3. โครงการ e=Education เพื่อให้โรงเรียนเป็นศูนย์การเรียนรู้ตลอดชีวิต ส่งเสริมการศึกษาที่มีประสิทธิภาพสูงตรงกับความต้องการที่แท้จริง
1.4. โครงการโรงเรียนประถมศึกษาและมัธยมศึกษาในฝันสู่อุดมศึกษาชั้นยอด ให้มีคณะกรรมการโรงเรียน School Board
1.5. โครงการพลังครู พัฒนาศักยภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา แก้ไขปัญหาหนึ้สินครู โดยลดรายจ่าย เพิ่มรายได้ ขยายโอกาส
1.6. โครงการศูนย์การศึกษานานาชาติ
1.7. หนึ่งโรงเรียนหนึ่งพยาบาล
1.8. โรงเรียนตัวอย่างทุกอำเภอ พัฒนาศักยภาพของโรงเรียนให้เป็นเลิศ โดยใช้การติดต่อสื่อสารด้วยวิทยาการสมัยใหม่
2. โอกาสในการเข้าถึงแหล่งทุน เข้าเรียนได้โดยไม่ต้องกังวลในเรื่องทุนการศึกษา
1.1. Smaart Card เพื่อการศึกษาขั้นพื้นฐาน
1.2. โครงการเรียนก่อนผ่อนทีหลัง ส่งคืนเมื่อมีรายได้ Income Contigency Loan Program
1.3. โครงการสานฝันนักเรียนไปเรียนต่างประเทศ (โครงการหนึ่งอำเภอหนึ่งทุน)
1.4. กองทุนตั้งตัวได้
3. โอกาสในการเพิ่มพูนและฝึกฝนทักษะนักเรียนทุกคนสามารถเติบโตได้ในโลกที่เป็นจริง เรียนรู้บนการทำกิจกรรม Activity Based Learnning
1.1. ส่งเสริมอาชีวศึกษา ให้ความสำคัญมากขึ้น ให้ความรู้ทางปฏิบัติ อย่างแท้จริง
1.2. ศูนย์ซ่อมสร้างเพื่อชุมชน Fix It Center
1.3. โครงการอัจฉริยะสร้างได้ ค้นหาความสามารถของตนเองทุกสาขา
1.4. โครงการ 1 ดนตรี 1 กีฬา 2 ภาษา อังกฤษ จีน คณิต วิทย์
1.5. ปรับปรุงหลักสูตรเลิกการท่องจำ ใช้การเรียนรู้
1.6. คนไทยอายุ 25 ปีสามารถเทียบความรู้จบชั้น ม.6 ได้
1.7. สถาบันการศึกษา ราชภัฎและอาชีวะศึกษา ค้นหาความสามารถของตนเอง ให้ความสำคัญมากขึ้นและมีความรู้ปฏิบัติอย่างแท้จริง
1.8. จัดศูนย์ฝึกอบรม จัดศูนย์ฝึกในอาชีวะศึกษา ให้คนไทยเรียนรู้ พัฒนาทักษะให้คนไทยชำนาญในแต่ละสาขา
4. โอกาสในการเรียนรู้ตลอดชีวิต
1.1. อินเทอร์เน็ตตำบล อินเทอร์เน็ตหมู่บ้าน
1.2. สถานที่รวมกลุ่มอย่างสร้างสรรค์แก่เด็กวัยเรียนโดยมีคอมพิวเตอร์ไว้ใช้
การประกวดสื่อการศึกษา Japan Prize 2012
ด้วย Japan Prize ประเทศญี่ปุ่น ประกาศเชิญชวนส่งผลงานเข้าประกวดสื่อการศึกษาประเภทสื่อวีดีทัศน์
เกมส์การศึกษา เว็บไซต์ และด้านอื่นๆ ที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศสนใจติดตามรายละเอียดดังแนบ
http://www.obec.go.th/sites/obec.go.th/files/document/attachment/19771/203520.pdf
เกมส์การศึกษา เว็บไซต์ และด้านอื่นๆ ที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศสนใจติดตามรายละเอียดดังแนบ
http://www.obec.go.th/sites/obec.go.th/files/document/attachment/19771/203520.pdf
วันอังคารที่ 8 พฤษภาคม พ.ศ. 2555
การจัดระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
การจัดระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนหรือนักศึกษา
สรุประบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
การดูแลช่วยเหลือนักเรียน คือ การส่งเสริม พัฒนา ป้องกัน และแก้ไขปัญหา
เพื่อให้นักเรียน
ได้พัฒนาเต็มตามศักยภาพ มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ มีภูมิคุ้มกันทางจิตใจที่เข้มแข็ง คุณภาพชีวิตที่ดี มีทักษะการดำรงชีวิต และการรอดพ้นจากวิกฤติ
ระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน มีครูประจำชั้นหรือครูที่ปรึกษาเป็นบุคลากรหลักในดำเนินงาน
มีกิจกรรม สำคัญ 5 กิจกรรมดังนี้
การรู้จักนักเรียนเป็นรายบุคคล
การคัดกรอง (กลุ่มปกติ , กลุ่มเสี่ยง,กลุ่มมีปัญหา)
การส่งเสริมและการพัฒนา
การป้องกัน ช่วยเหลือ และการแก้ไข
การส่งต่อ
รายละเอียดของกิจกรรมพอสังเขปดังนี้
การรู้จักนักเรียนเป็นรายบุคคล
SDQ การสังเกต ระเบียนสะสม สมุดผลการเรียน -ฯลฯ
การจัด กิจกรรมโฮมรูมด้วยเครื่องมือต่างๆ
การจัดเรียนการสอนในห้องเรียน
สัมภาษณ์นักเรียน เพื่อน ผู้ปกครอง ฯลฯ
การคัดกรองนักเรียนรายบุคคล
การให้การปรึกษา (คลินิกให้การปรึกษา)
กิจกรรมซ่อมเสริม
การติดต่อผู้ปกครอง
เพื่อนช่วยเพื่อน ฯลฯ
การจัดกิจกรรมช่วยเหลือ แก้ไข ป้องกัน
กิจกรรมโฮมรูม
class room metting
คลินิกให้การปรึกษา
ฯลฯ
การจัดกิจกรรมส่งเสริม พัฒนา
การส่งต่อภายใน (คลินิกให้การปรึกษา)
การส่งต่อภายนอก (คลินิกให้การปรึกษา)
การส่งต่อ
การส่งต่อนักเรียนไปสู่ผู้ที่เชี่ยวชาญกว่าจะช่วยได้ดียิ่งขึ้นคลินิกให้การ ปรึกษาประกอบด้วยนักจิตวิทยา พยาบาล แพทย์ และจิตแพทย์
กลุ่มปกติ -กิจกรรมส่งเสริม พัฒนา
กลุ่มเสี่ยง - กิจกรรม ป้องกัน
กลุ่มมีปัญหา - กิจกรรมช่วยเหลือ แก้ไข ป้องกัน
เด็กพิเศษ - ส่งเสริม พัฒนา ให้เต็มศักยภาพ
ขั้นตอนการดำเนินงานของคลินิกให้การปรึกษา ได้ดำเนินการตามขั้นตอน PDCA ดังนี้
P (Plan)
ประชุมวางแผนร่วมกัน
จัดทำโครงการและงบประมาณเพื่อขออนุมัติ
สำรวจปัญหาและผู้ที่สนใจใช้บริการ
จัดทำตารางให้บริการ
ประชาสัมพันธ์
การเตรียมความพร้อม
D (Do)
การนัดหมายนักเรียน ครู ผู้ปกครองใช้บริการตามความเร่งด่วนของปัญหา
ประสานให้ผู้ใช้บริการพบวิทยากรผู้ให้การปรึกษาทั้งเป็นรายบุคคล และรายกลุ่ม
C (Check)
ประเมินผลและสรุปผลแบบประเมิน
A (Action)
นำผลจากขั้น C มาพัฒนาการให้บริการในปีการศึกษาต่อไป
สรุประบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
การดูแลช่วยเหลือนักเรียน คือ การส่งเสริม พัฒนา ป้องกัน และแก้ไขปัญหา
เพื่อให้นักเรียน
ได้พัฒนาเต็มตามศักยภาพ มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ มีภูมิคุ้มกันทางจิตใจที่เข้มแข็ง คุณภาพชีวิตที่ดี มีทักษะการดำรงชีวิต และการรอดพ้นจากวิกฤติ
ระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน มีครูประจำชั้นหรือครูที่ปรึกษาเป็นบุคลากรหลักในดำเนินงาน
มีกิจกรรม สำคัญ 5 กิจกรรมดังนี้
การรู้จักนักเรียนเป็นรายบุคคล
การคัดกรอง (กลุ่มปกติ , กลุ่มเสี่ยง,กลุ่มมีปัญหา)
การส่งเสริมและการพัฒนา
การป้องกัน ช่วยเหลือ และการแก้ไข
การส่งต่อ
รายละเอียดของกิจกรรมพอสังเขปดังนี้
การรู้จักนักเรียนเป็นรายบุคคล
SDQ การสังเกต ระเบียนสะสม สมุดผลการเรียน -ฯลฯ
การจัด กิจกรรมโฮมรูมด้วยเครื่องมือต่างๆ
การจัดเรียนการสอนในห้องเรียน
สัมภาษณ์นักเรียน เพื่อน ผู้ปกครอง ฯลฯ
การคัดกรองนักเรียนรายบุคคล
การให้การปรึกษา (คลินิกให้การปรึกษา)
กิจกรรมซ่อมเสริม
การติดต่อผู้ปกครอง
เพื่อนช่วยเพื่อน ฯลฯ
การจัดกิจกรรมช่วยเหลือ แก้ไข ป้องกัน
กิจกรรมโฮมรูม
class room metting
คลินิกให้การปรึกษา
ฯลฯ
การจัดกิจกรรมส่งเสริม พัฒนา
การส่งต่อภายใน (คลินิกให้การปรึกษา)
การส่งต่อภายนอก (คลินิกให้การปรึกษา)
การส่งต่อ
การส่งต่อนักเรียนไปสู่ผู้ที่เชี่ยวชาญกว่าจะช่วยได้ดียิ่งขึ้นคลินิกให้การ ปรึกษาประกอบด้วยนักจิตวิทยา พยาบาล แพทย์ และจิตแพทย์
กลุ่มปกติ -กิจกรรมส่งเสริม พัฒนา
กลุ่มเสี่ยง - กิจกรรม ป้องกัน
กลุ่มมีปัญหา - กิจกรรมช่วยเหลือ แก้ไข ป้องกัน
เด็กพิเศษ - ส่งเสริม พัฒนา ให้เต็มศักยภาพ
ขั้นตอนการดำเนินงานของคลินิกให้การปรึกษา ได้ดำเนินการตามขั้นตอน PDCA ดังนี้
P (Plan)
ประชุมวางแผนร่วมกัน
จัดทำโครงการและงบประมาณเพื่อขออนุมัติ
สำรวจปัญหาและผู้ที่สนใจใช้บริการ
จัดทำตารางให้บริการ
ประชาสัมพันธ์
การเตรียมความพร้อม
D (Do)
การนัดหมายนักเรียน ครู ผู้ปกครองใช้บริการตามความเร่งด่วนของปัญหา
ประสานให้ผู้ใช้บริการพบวิทยากรผู้ให้การปรึกษาทั้งเป็นรายบุคคล และรายกลุ่ม
C (Check)
ประเมินผลและสรุปผลแบบประเมิน
A (Action)
นำผลจากขั้น C มาพัฒนาการให้บริการในปีการศึกษาต่อไป
วันจันทร์ที่ 7 พฤษภาคม พ.ศ. 2555
การบังคับบัญชาข้าราชการครู
1. การบังคับบัญชาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาในสถานศึกษาอำนาจและ หน้าที่ บริหารกิจการสถานศึกษา ให้เป็นไปตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ นโยบายและวัตถุประสงค์ของสถานศึกษา
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการบังคับบัญชาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาคือ
กฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา(งานบริหารบุคลากร)
พรบ.ระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ.2547
มาตรา ๒๗ ให้ผู้บริหารสถานศึกษาเป็นผู้บังคับบัญชาของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาในสถานศึกษา และมีอำนาจและหน้าที่ ดังต่อไปนี้
(๑) ควบคุม ดูแลให้การบริหารงานบุคคลในสถานศึกษาสอดคล้องกับนโยบาย กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ หลักเกณฑ์และวิธีการตามที่ ก.ค.ศ. และ อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่การศึกษา กำหนด
(๒) พิจารณาเสนอความดีความชอบของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาในสถานศึกษา
(๓) ส่งเสริม สนับสนุนข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาในสถานศึกษาให้มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
(๔) จัดทำมาตรฐาน ภาระงานสำหรับข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาในสถานศึกษา
(๕) ประเมินผลการปฏิบัติงานตามมาตรฐานของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาเพื่อเสนอ อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่การศึกษา
(๖) ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่บัญญัติไว้ในพระราชบัญญัตินี้ กฎหมายอื่นหรือตามที่ อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่การศึกษาหรือคณะกรรมการสถานศึกษามอบหมาย
มาตรา ๒๘ ให้ ผู้บริหารหน่วยงานการศึกษาที่เรียกชื่ออย่างอื่นตามที่ ก.ค.ศ. กำหนด เป็นผู้บังคับบัญชาและบริหารหน่วยงาน และให้นำมาตรา ๒๗ มาใช้บังคับแก่ผู้ดำรงตำแหน่งดังกล่าวโดยอนุโลม
==========================================
มาตรฐานการปฏิบัติงานของผู้บริหารสถานศึกษา
มาตรฐานที่ 1 ปฏิบัติกิจกรรมทางวิชาการเกี่ยวกับการพัฒนาวิชาชีพการบริหารการศึกษา
==========================================
มาตรฐานที่ 2 ตัดสินใจปฏิบัติกิจกรรมต่าง ๆ โดยคำนึงถึงผลที่จะเกิดขึ้นกับการพัฒนาของบุคลากร ผู้เรียน และชุมชน
==========================================
มาตรฐานที่ 3 มุ่งมั่นพัฒนาผู้ร่วมงานให้สามารถปฏิบัติงานได้เต็มตามศักยภาพ
มาตรฐานที่ 4 พัฒนาแผนงานขององค์กรให้สามารถปฏิบัติได้เกิดผลจริง
==========================================
มาตรฐานที่ 5 พัฒนาและใช้นวัตกรรมการบริหารจนเกิดผลงานที่มีคุณภาพสูงขึ้นเป็นลำดับ
==========================================
มาตรฐานที่ 6 ปฏิบัติงานขององค์การโดยเน้นผลถาวร
==========================================
มาตรฐานที่ 7 รายงานผลการพัฒนาคุณภาพการศึกษาได้อย่างเป็นระบบ
==========================================
มาตรฐานที่ 8 ปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดี
==========================================
มาตรฐานที่ 9 ร่วมมือกับชุมชนและหน่วยงานอื่นอย่างสร้างสรรค์
==========================================
มาตรฐานที่ 10 แสวงหาและใช้ข้อมูลข่าวสารในการพัฒนา
==========================================
มาตาฐานที่ 11 เป็นผู้นำและสร้างผู้นำ
==========================================
มาตรฐานที่ 12 สร้างโอกาสในการพัฒนาได้ทุกสถานการณ์
=================
ที่มา : คัดจากมาตรฐานการปฏิบัติงาน คู่มือมาตรฐานวิชาชีพการศึกษา คุรุสภ
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการบังคับบัญชาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาคือ
กฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา(งานบริหารบุคลากร)
พรบ.ระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ.2547
มาตรา ๒๗ ให้ผู้บริหารสถานศึกษาเป็นผู้บังคับบัญชาของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาในสถานศึกษา และมีอำนาจและหน้าที่ ดังต่อไปนี้
(๑) ควบคุม ดูแลให้การบริหารงานบุคคลในสถานศึกษาสอดคล้องกับนโยบาย กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ หลักเกณฑ์และวิธีการตามที่ ก.ค.ศ. และ อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่การศึกษา กำหนด
(๒) พิจารณาเสนอความดีความชอบของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาในสถานศึกษา
(๓) ส่งเสริม สนับสนุนข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาในสถานศึกษาให้มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
(๔) จัดทำมาตรฐาน ภาระงานสำหรับข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาในสถานศึกษา
(๕) ประเมินผลการปฏิบัติงานตามมาตรฐานของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาเพื่อเสนอ อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่การศึกษา
(๖) ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่บัญญัติไว้ในพระราชบัญญัตินี้ กฎหมายอื่นหรือตามที่ อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่การศึกษาหรือคณะกรรมการสถานศึกษามอบหมาย
มาตรา ๒๘ ให้ ผู้บริหารหน่วยงานการศึกษาที่เรียกชื่ออย่างอื่นตามที่ ก.ค.ศ. กำหนด เป็นผู้บังคับบัญชาและบริหารหน่วยงาน และให้นำมาตรา ๒๗ มาใช้บังคับแก่ผู้ดำรงตำแหน่งดังกล่าวโดยอนุโลม
==========================================
มาตรฐานการปฏิบัติงานของผู้บริหารสถานศึกษา
มาตรฐานที่ 1 ปฏิบัติกิจกรรมทางวิชาการเกี่ยวกับการพัฒนาวิชาชีพการบริหารการศึกษา
==========================================
มาตรฐานที่ 2 ตัดสินใจปฏิบัติกิจกรรมต่าง ๆ โดยคำนึงถึงผลที่จะเกิดขึ้นกับการพัฒนาของบุคลากร ผู้เรียน และชุมชน
==========================================
มาตรฐานที่ 3 มุ่งมั่นพัฒนาผู้ร่วมงานให้สามารถปฏิบัติงานได้เต็มตามศักยภาพ
มาตรฐานที่ 4 พัฒนาแผนงานขององค์กรให้สามารถปฏิบัติได้เกิดผลจริง
==========================================
มาตรฐานที่ 5 พัฒนาและใช้นวัตกรรมการบริหารจนเกิดผลงานที่มีคุณภาพสูงขึ้นเป็นลำดับ
==========================================
มาตรฐานที่ 6 ปฏิบัติงานขององค์การโดยเน้นผลถาวร
==========================================
มาตรฐานที่ 7 รายงานผลการพัฒนาคุณภาพการศึกษาได้อย่างเป็นระบบ
==========================================
มาตรฐานที่ 8 ปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดี
==========================================
มาตรฐานที่ 9 ร่วมมือกับชุมชนและหน่วยงานอื่นอย่างสร้างสรรค์
==========================================
มาตรฐานที่ 10 แสวงหาและใช้ข้อมูลข่าวสารในการพัฒนา
==========================================
มาตาฐานที่ 11 เป็นผู้นำและสร้างผู้นำ
==========================================
มาตรฐานที่ 12 สร้างโอกาสในการพัฒนาได้ทุกสถานการณ์
=================
ที่มา : คัดจากมาตรฐานการปฏิบัติงาน คู่มือมาตรฐานวิชาชีพการศึกษา คุรุสภ
การจัดระบบควบคุมภายในสถานศึกษา
11. การจัดระบบควบคุมภายในสถานศึกษา
สรุป
การจัดระบบควบคุมภายในสถานศึกษาเป็นกระบวนการปฎิบัติงานที่ฝ่ายบริหารและบุคลากรของหน่วยงานกำหนดให้มีขึ้นเพื่อสร้างความมั่นใจอย่างสมเหตุสมผล ว่าจะดำเนินงานของหน่วยงานบรรลุวัตถุประสงค์
จุดประสงค์
1. มุ่งให้การปฏิบัติงานเกิดประสิทธิภาพ ประสิทธิผล ของการดำเนินงาน
2. รายงานทางการเงิน
3. ปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ
องค์ประกอบ
1. สภาพแวดล้อมของการควบคุม Control Environment
2. การประเมินความเสี่ยง Risk Assessment
3. กิจกรรมการควบคุม Control Activities
4. สารสนเทศและการสื่อสาร Information and Communication
5. การติดตามผล Monitoring
แบบรายงาน
1. แบบ ปอ.1 รายงานความเห็นเกี่ยวกับการควบคุมภายในของหัวหน้าหน่วยงาน
2. แบบ ปอ. 2 สรุปผลการประเมินองค์ประกอบของมาตรฐานการควบคุมภายใน
3. แบบ ปอ.3 แผนการปรับปรุงการควบคุมภายใน
4. แบบติดตาม-ปอ.3 รายงานผลการติดตามการปฏิบัติตามแผนการปรับปรุงการควบคุมภายในของงวดก่อน
5. แบบ ปส. รายงานผลการสอบทานการประเมินการควบคุมภายในโดย
ผู้ตรวจสอบภายใน
การประเมินการควบคุมด้วยตนเอง (CSA) Control Self-Assessment
ปย.1 - ปย.2 - ปอ.2 - ปอ.3 - ปอ.1
ย่อย เมิน เพิ่ม ปรับ รับรอง
1. ประเมิน 5 องค์ประกอบ ลงในแบบ ปย.1
2. ประเมิน กระบวนการปฏิบัติในแบบ ปย.2
3. ประมวล ปย.1 +เพิ่มเติม ลงใน ปอ.2
4. สรุปวิเคราะห์ ปย.2 ปรับปรุงลงในแบบ ปอ.3
5. จัดทำหนังสือรับรองประเมินการควบคุมภายใน ลงในปอ.1 รายงาน เขตและสตง.โดยตรง ภายใน 90 วัน หลังวันสิ้นปีงบประมาณ
สรุป
การจัดระบบควบคุมภายในสถานศึกษาเป็นกระบวนการปฎิบัติงานที่ฝ่ายบริหารและบุคลากรของหน่วยงานกำหนดให้มีขึ้นเพื่อสร้างความมั่นใจอย่างสมเหตุสมผล ว่าจะดำเนินงานของหน่วยงานบรรลุวัตถุประสงค์
จุดประสงค์
1. มุ่งให้การปฏิบัติงานเกิดประสิทธิภาพ ประสิทธิผล ของการดำเนินงาน
2. รายงานทางการเงิน
3. ปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ
องค์ประกอบ
1. สภาพแวดล้อมของการควบคุม Control Environment
2. การประเมินความเสี่ยง Risk Assessment
3. กิจกรรมการควบคุม Control Activities
4. สารสนเทศและการสื่อสาร Information and Communication
5. การติดตามผล Monitoring
แบบรายงาน
1. แบบ ปอ.1 รายงานความเห็นเกี่ยวกับการควบคุมภายในของหัวหน้าหน่วยงาน
2. แบบ ปอ. 2 สรุปผลการประเมินองค์ประกอบของมาตรฐานการควบคุมภายใน
3. แบบ ปอ.3 แผนการปรับปรุงการควบคุมภายใน
4. แบบติดตาม-ปอ.3 รายงานผลการติดตามการปฏิบัติตามแผนการปรับปรุงการควบคุมภายในของงวดก่อน
5. แบบ ปส. รายงานผลการสอบทานการประเมินการควบคุมภายในโดย
ผู้ตรวจสอบภายใน
การประเมินการควบคุมด้วยตนเอง (CSA) Control Self-Assessment
ปย.1 - ปย.2 - ปอ.2 - ปอ.3 - ปอ.1
ย่อย เมิน เพิ่ม ปรับ รับรอง
1. ประเมิน 5 องค์ประกอบ ลงในแบบ ปย.1
2. ประเมิน กระบวนการปฏิบัติในแบบ ปย.2
3. ประมวล ปย.1 +เพิ่มเติม ลงใน ปอ.2
4. สรุปวิเคราะห์ ปย.2 ปรับปรุงลงในแบบ ปอ.3
5. จัดทำหนังสือรับรองประเมินการควบคุมภายใน ลงในปอ.1 รายงาน เขตและสตง.โดยตรง ภายใน 90 วัน หลังวันสิ้นปีงบประมาณ
วันอาทิตย์ที่ 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2555
หลักสูตรการสอบผู้บริหารสถานศึกษา 2555
การสรรหาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาเพื่อบรรจุและแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งรองผู้อำนวยการสถานศึกษา และผู้อำนวยการสถานศึกษา ให้ดำเนินการประเมินความรู้ทั่วไปและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน ความสามารถในการบริหารงานในหน้าที่ สมรรถนะทางการบริหาร ประเมินประวัติและผลงาน โดยให้คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานหรือส่วนราชการแล้วแต่กรณี ดำเนินการดังนี้
1. สอบข้อเขียน แบบปรนัย ประเมินกลุ่มทั่วไป (คะแนนเต็ม 200 คะแนนคิดเป็นร้อยละ 100 ) และกลุ่มประสบการณ์ (คะแนนเต็ม 200 คะแนนคิดเป็นร้อยละ 60 )
1.1 ความรู้ทั่วไปและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน( 50 คะแนน)
1. นโยบายรัฐบาล แผนการบริหาราชการแผ่นและวาระแห่งชาติ
2. สถานการณ์ทางเศรษฐกิจ สังคม และการเมืองของประเทศไทยในปัจจุบัน
3. การบริหารยุคใหม่ การบริหารการเปลี่ยนแปลงและทฤษฏีทางการบริหาร
4. หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
5. กฎหมายว่าด้วยการศึกษาแห่งชาติ
6. กฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ
7. กฎหมายว่าด้วย สภาครูและบุคลากรทางการศึกษา
8. กฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
9. กฎหมายว่าด้วยระเบียบ วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง
10. กฎหมายว่าด้วย ข้อมูลข่าวสารทางราชการ
11. กฎหมายว่าด้วย การจัดการศึกษาสำหรับคนพิการ
12. กฎหมายว่าด้วย คุ้มครองเด็ก
13. กฎหมายว่าด้วย หลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี
14. กฎหมายว่าด้วย กฎระเบียบ หลักเกณฑ์และวิธีการที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับส่วนราชการนั้นกำหนด (ให้ระบุไว้ในประกาศรับสมัครด้วย)
1.2 ความสามารถในการบริหารงานในหน้าที่ (100 คะแนน)
ให้เน้นการวิเคราะห์ การแก้ปัญหา และการตัดสินใจในการบริหารงานในหน้าที่ต่อไปนี้
1. การบังคับบัญชาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาในสถานศึกษาอำนาจและหน้าที่ บริหารกิจการสถานศึกษา ให้เป็นไปตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ นโยบายและวัตถุประสงค์ของสถานศึกษา
2. การวางแผนการศึกษา ประเมิน และจัดทำรายงานเกี่ยวกับกิจการของสถานศึกษา
3. การจัดทำและพัฒนาหลักสูตร การจัดกระบวนการเรียนรู้ การพัฒนาสื่อ นวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา การนิเทศ และการวัดผล ประเมินผล
4. การส่งเสริมและจัดการศึกษาให้กับผู้เรียนทุกกลุ่มเป้าหมาย ทั้งในระบบ นอกระบบและตามอัธยาศัย
5. การจัดทำระบบประกันคุณภาพการศึกษา
___________________________________________________________________________
6. การบริหารงบประมาณ การเงินและทรัพย์สิน
7. การบริหารงานบุคคล การสรรหา การบรรจุ แต่งตั้ง การเสริมสร้างประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน วินัย การรักษาวินัย การดำเนินการทางวินัย การออกจากราชการ การอุทธรณ์ และการร้องทุกข์
8. การจัดทำมาตรฐานและภาระงานของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาในสถานศึกษา ประเมินผลการปฏิบัติงาน ตามมาตรฐานของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
9. การส่งเสริมสนับสนุนข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ให้มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
10. การประสานความร่วมมือกับชุมชนและท้องถิ่น ในการระดมทรัพยากรเพื่อการศึกษาและให้บริการด้านวิชาการแก่ชุมชน
11. การจัดระบบควบคุมภายในสถานศึกษา
12. การจัดระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนหรือนักศึกษา
1.3 สมรรถนะทางการบริหาร (50 คะแนน)1.การบริหามุ่งผลสัมฤทธิ์
2. การบริการที่ดี
3. การพัฒนาตนเอง
4. การทำงานเป็นทีม
5. การวิเคราะห์และสังเคราะห์
6. การสื่อสารและการจูงใจ
7. การพัฒนาศักยภาพบุคลากร
8. การมีวิสัยทัศน์
9. ภาวะผู้นำ
2. ประวัติและผลงาน ประสบการณ์ (คะแนนเต็ม 100 คะแนนคิดเป็นร้อยละ 40 )ให้ประเมินประวัติและผลงาน เฉพาะกลุ่มประสบการณ์ โดยให้คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน หรือส่วนราชการกำหนดตัวชี้วัดและคะแนนแต่ละองค์ประกอบการประเมิน
ทั้งนี้ให้ประกาศตัวชี้วัดและคะแนนแต่ละองค์ประกอบการประเมินพร้อมกับการประกาศรับสมัคร
ที่มา http://203.146.15.33/webtcs/
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)