นโยบาย รมต.สุชาติ ธาดาธำรงเวช (ศ.ดร.สุชาติ ธาดาธำรงเวช)
ปรัชญา
เน้นปรัชญา “ความเท่าเทียมและการนำเทคโนโลยี” จัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน “ที่มีคุณภาพสำหรับเยาวชนทุกคนทุกพื้นที่ “จัดการอุดมศึกษาโดย “ปั้นนักศึกษาไทยให้เป็นมืออาชีพ”
นโยบาย
1. จัดการศึกษาที่มีคุณภาพสำหรับเยาวชนทุกคน
2. ปั้นนักศึกษาไทยให้เป็นมืออาชีพ
การขยายโอกาสทางการศึกษา 4 ด้าน
1. โอกาสในการเข้าถึงทรัพยากร
1.1. โครงการ One Tablet Per Child
1.2. สร้างห้องการเรียนรู้ ครูเปิดสอนพิเศษรัฐจ่ายเงินให้ ซื้อซอฟต์แวร์ e-book เกิด e-learnning เพื่อสร้าง knowledge Based Society
1.3. โครงการ e=Education เพื่อให้โรงเรียนเป็นศูนย์การเรียนรู้ตลอดชีวิต ส่งเสริมการศึกษาที่มีประสิทธิภาพสูงตรงกับความต้องการที่แท้จริง
1.4. โครงการโรงเรียนประถมศึกษาและมัธยมศึกษาในฝันสู่อุดมศึกษาชั้นยอด ให้มีคณะกรรมการโรงเรียน School Board
1.5. โครงการพลังครู พัฒนาศักยภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา แก้ไขปัญหาหนึ้สินครู โดยลดรายจ่าย เพิ่มรายได้ ขยายโอกาส
1.6. โครงการศูนย์การศึกษานานาชาติ
1.7. หนึ่งโรงเรียนหนึ่งพยาบาล
1.8. โรงเรียนตัวอย่างทุกอำเภอ พัฒนาศักยภาพของโรงเรียนให้เป็นเลิศ โดยใช้การติดต่อสื่อสารด้วยวิทยาการสมัยใหม่
2. โอกาสในการเข้าถึงแหล่งทุน เข้าเรียนได้โดยไม่ต้องกังวลในเรื่องทุนการศึกษา
1.1. Smaart Card เพื่อการศึกษาขั้นพื้นฐาน
1.2. โครงการเรียนก่อนผ่อนทีหลัง ส่งคืนเมื่อมีรายได้ Income Contigency Loan Program
1.3. โครงการสานฝันนักเรียนไปเรียนต่างประเทศ (โครงการหนึ่งอำเภอหนึ่งทุน)
1.4. กองทุนตั้งตัวได้
3. โอกาสในการเพิ่มพูนและฝึกฝนทักษะนักเรียนทุกคนสามารถเติบโตได้ในโลกที่เป็นจริง เรียนรู้บนการทำกิจกรรม Activity Based Learnning
1.1. ส่งเสริมอาชีวศึกษา ให้ความสำคัญมากขึ้น ให้ความรู้ทางปฏิบัติ อย่างแท้จริง
1.2. ศูนย์ซ่อมสร้างเพื่อชุมชน Fix It Center
1.3. โครงการอัจฉริยะสร้างได้ ค้นหาความสามารถของตนเองทุกสาขา
1.4. โครงการ 1 ดนตรี 1 กีฬา 2 ภาษา อังกฤษ จีน คณิต วิทย์
1.5. ปรับปรุงหลักสูตรเลิกการท่องจำ ใช้การเรียนรู้
1.6. คนไทยอายุ 25 ปีสามารถเทียบความรู้จบชั้น ม.6 ได้
1.7. สถาบันการศึกษา ราชภัฎและอาชีวะศึกษา ค้นหาความสามารถของตนเอง ให้ความสำคัญมากขึ้นและมีความรู้ปฏิบัติอย่างแท้จริง
1.8. จัดศูนย์ฝึกอบรม จัดศูนย์ฝึกในอาชีวะศึกษา ให้คนไทยเรียนรู้ พัฒนาทักษะให้คนไทยชำนาญในแต่ละสาขา
4. โอกาสในการเรียนรู้ตลอดชีวิต
1.1. อินเทอร์เน็ตตำบล อินเทอร์เน็ตหมู่บ้าน
1.2. สถานที่รวมกลุ่มอย่างสร้างสรรค์แก่เด็กวัยเรียนโดยมีคอมพิวเตอร์ไว้ใช้
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น